Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 66ปี เตียง5, ดาวน์โหลด (6), images, 220px…
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 66ปี เตียง5
cc : หายใจเหนื่อยหอบพ่นยาไม่ดีขึ้น 4ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
PI : U/D Diabetes mellitus (hyperglycemia) มา13 ปี รักษาไม่สม่ำเสมอ
เป็น Asthmatick attack มา 1 ปี รับยาเมื่อมีอาการหอบ
2 เดือนก่อนอาการอ่อนเพลีย ระดับน้ำตาลในเลือดสูง 340 mg/dl
นอนโรง พยาบาล 2 ครั้ง
7 ชั่วโมง หายใจหอบเหนื่อย ไม่ได้พ่นยา
4 ชั่วโมง หายใจหอบเหนื่อย พ่นยาแบบสุดดมไม่ดีขึ้น ไอมีเสมหะ อาเจียน2ครั้ง ญาตินำส่งโรงพยาบาล
Dx.Asthmatick attack
ความผิดปกติทางเมตาบอลิซึมของร่างกาp
เกิดระดับนํ้าตาลในเลือด
สูง
เป็นผลมาจากการที่ร่างกายขาดฮอร์โมนอินซูลิน
ฮอร์โมนอินซูลินออกฤทธิ์ได้ลดลง
FBS : 340 mg/dl
DTX : 196 mg/dl
hyperglycemianน้ำตาลในเลือดสูง ปัสสาวะบ่อย หิวน้ำบ่อย น้ำหนักลด ผิวแห้ง อ่อนเพลีย สายตาพร่ามัว มองเห็นไม่ชัด
hypoglycemia หัวใจเต้นเร็ว เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ ฉุนเฉียวง่าย กังวล สายตาพร่า เหงื่อออกมาก หิวบ่อย อ่อนเพลีย ตัวสั่น
ข้อวินิจฉัยที่2
เฝ้าระวังภาวะhyperglycemiaและhypoglycemia
S:ป่วยบอกวามีอาการใจสั่น เบื่ออาหาร กระหายนํ้า O:1.ระดับนํ้าตาลในเลือด
340 mg/dL
2.ชีพจร 110 ครั้ง/นาที
กิจกรรมทางการพยาบาล hyperglycemia
วัดสัญญาณชีพทุก 4 q ติดตามการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
PR : 90 ครั้ง/นาที
2.ดูแลให้อินซูลิน RI 10 U
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ผลข้างเคียง
1 more item...
3.ติดตามค่าDTXระดับน้ำตาลในเลือด
อยู่ในช่วง 186-196 mg/dl
4.สังเกตระดับความรู้สึกตัวและอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
1 more item...
กิจกรรมทางการพยาบาล hypoglycemia
1.วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที
2.ดูแลให้ได้รับ 50% glucose 50 cc IV
เพื่อให้สมอง
ได้รับกลูโคสที่เพียงพอ
เจาะเลือดตรวจระดับ
นํ้าตาลในเลือดหลังให้ 50% glucose 30 นาที
เพื่อประเมินระดับ
นํ้าตาลในเลือด
4.เฝ้าระวังน้ำตาลในเลือดต่ำซ้ำ
1 more item...
ข้อวินิจฉัยข้อที่3
ผู้ป่วยวิตกกังวลเนื่องจากอาการเจ็บป่วย
S:ผู้ป่วยบอกว่าวิตกกังวล อ่อนเพลีย กับโรคที่เป็น
O:สังเกตุสีหน้า ท่าทางของผู้ป่วย
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าผู้ป่วยจะได้รับการดูแลช่วยเหลือจากแพทย์พยาบาล และเจ้าหน้าที่
อธิบายทุกครั้งที่ให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วย
เพื่อให้ผู้ป่วยพร้อมที่จะเผชิญกับสถานการณ์ที่จะเกิด
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล
เพื่อเพิ่มความอบอุ่นและมันใจแก่ผู้ป่วย
เพื่อให้ความมันคงทางจิตใจ
Dx.Diabetes mellitus (hyperglycemia)
หลอดลมของผู้ป่วยมักไวต่อสารกระตุ้น
เมื่อสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้จะ
เกิดการอักเสบในหลอดลม
จะกระตุ้น T และ B lymphocyte ให้ผลิตสาร interleukin-3 และ 4
เพื่อกลับไปกระตุ้นให้ B lymphocyte ผลิต IgE
IgE จะไปกระตุ้น mast cell,
macrophages, eosinophils, neutrophils และ lymphocytes ที่ผนังหลอดลมให้หลั่งสารอักเสบ
มีการสร้างสาร
เมือกมากขึ้นในหลอดลม
-HCT 35.8% ค่าปกติ 37-47%
-MCH 38.3 PG ค่าปกติ 27-31 PG -MCHC 43.9 GM/DL ค่าปกติ 32-36 -Eosinophil 7.2% ค่าปกติ 0-5%
หายใจลำบาก หอบ ไอมีเสมอหะ หายใจมีเสียงwheezing อ่อนเพลีย
เกิดการอักเสบของหลอดลมต่อเนื่องเป็นเวลานาน
ส่งผลให้Oxygenไม่เพียงพอต่อร่างกาย
ข้อวินิจฉัยที่1 เสี่ยงภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากการหดเกร็งของหลอดลมและมีเสมหะในระบบทางเดินหายใจ
S:ผู้ป่วยบอกว่าหายใจเหนื่อยมากขึ้น ไอมีเสมหะ
O: RR 28ครั้ง/นาที หายใจปอดมีเสียงwheezing
-Eosinophil 7.2%
กิจกรรมทางการพยาบาล
วัดสัญญาณชีพ ติดตามการเปลี่ยนแปลงของการหายใจ ชีพจร BP ค่าOxygenแลอุณหภูมิ
เพื่อประเมินภาวะการหายใจและการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
2.ให้Cannula 3 lit/min
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอ
1 more item...
RR = 24-28 ครั้ง/นาที
1 more item...