Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine System - Coggle Diagram
ระบบต่อมไร้ท่อ
Endocrine System
บทนำระบบต่อมไร้ท่อ
(Introduction to Endocrinology)
ควบคุมการเปลี่ยนเเปลงของร่างกายเเละควบคุมกระบวนการต่างๆ
ที่สำคัญภายในเซลล์ โดยอาศัยการสื่อสารกันระหว่างเซลล์ (Cell to cell communication)
สารเคมีที่ร่างกายสร้างขึ้นมา เรียกว่า “ฮอร์โมน (Hormones)”
หน้าที
ควบคุมการทำงานของระบบต่างๆในร่างกาย
ควบคุมการเจริญเติบโต, เมทาบอลิซึม, และการพัฒนาของเซลล์
ควบคุมสมดุลของสารน้ำ , เกลือแร่, และอิเล็กทรอไลท์ต่างๆ
ควบคุมการทำงานของระบบสืบพันธุ์ทั้งในภาวะปกติ, ตั้งครรภ์ และหลังคลอด
การสังเคราะห์ฮอร์โมน (Hormone synthesis)
โปรตีน (Peptides and Protein (P&P))
สเตียรอยด์ (Steroids (S))
เอมีน (Amines (A))
แคททีโคลามีน (Catecholamines (C))
ไทรอยด์ (Thyroid (Iodothyronines) (T))
คุณสมบัติทางสรีรวิทยาของฮอร์โมน (Hormone physiology features)
การสังเคราะห์ (Synthesis)
P&P, A→สังเคราะห์ขึ้นมาและเก็บไว
S→สังเคราะห์และหลั่งตามความต้องการ
การขนส่ง (Transport)
P&P, C→ขนส่งโดยอิสระไปตามการไหลเวียนเลือด
S, T→ขนส่งไปโดยการจับกับโปรตีนตัวนา (Carrier proteins)
การจับกับตัวรับ (Receptor binding)
P&P, C→จับกับตัวรับบนผิวเซลล์ (Cell membrane receptors)
S, T→จบั กบั ตวั รับที่อยู่ภายในเซลล์ (Intracellular receptors)
การตอบสนอง (Effects)
P&P, C→การเปลี่ยนแปลงโปรตีน (Protein modification)
P&P, S, T→การสังเคราะห์โปรตีน (Protein synthesis)
เอมีนฮอร์โมน (Amine Hormones)
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกรดอะมิโน
(Modification of amino acids)
กรดอะมิโน Tryptophan หรือ Tyrosine
เปปไทด์และโปรตีนฮอร์โมน
(Peptides and Protein Hormones)
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกรดอะมิโนหลายตัวที่เชื่อมติดกัน
ด้วยพันธะเคมี (Modification of multiple amino acids)
กระบวนการสังเคราะห์เหมือนกัน
กับโปรตีนชนิดอื่นๆในร่างกาย
สเตียรอยด์ฮอร์โมน (Steroid Hormones)
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของไขมันชนิดคอเลสเตอรอล (Modification of lipid cholesterol)
การควบคุมการหลั่งของฮอร์โมน (Regulation of hormone secretion)
การควบคุมการหลั่งของฮอร์โมน (Regulation of hormone secretion)
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนต่อมใต้สมอง
(Pituitary hormones and their control by Hypothalamus)
ฮอร์โมนต่อมใต้สมองจาก Pituitary Gland และ Hypothalamus
ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) หรือ Hypophysis จัดเป็นส่วนหนึ่งของ Diencephalon
ลักษณะรูปไข่สีน้ำตาลเเดง
วางอยู่ที่เเอ่งของกระดูก Sphenoid ที่ Anterior and inferior to the Thalamus
เชื่อมอยู่กับส่วนของ Hypothalamus
อาศัยก้าน Infundibulum (Pituitary stalk)
2 ส่วน คือ ด้านหน้าและด้านหลัง
ฮอร์โมนต่อมใต้สมองจาก Pituitary Gland และ Hypothalamus
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary)
• Adenohypophysis
• Growth hormone (GH)
ชนิดของฮอร์โมน
Protein hormone
หน้าที่
กระตุ้นกระบวนการต่าง ๆ ที่ส่งผลในการเพิ่มการเจริญเติบโตของเซลล์ร่างกาย
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
เซลล์ไขมัน, กระดูก, กล้ามเนื้อ, ประสาท, ภูมิคุมกัน และตับ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนกระตุ้นการเจริญเติบโต
(Growth hormone and its disorders)
GH↑ → Acromegaly
เกิดการผิดปกติของกระดูกตามบริเวณ ใบหน้า นิ้วมือ นิ้วเท้า
GH↓ → Pituitary dwarfism
พบในวัยเด็ก เนื่องจากการขาด GH ทำให้ร่างกายเตี้ยเเคระ
GH↑ → Gigantism
พบในเด็กเล็ก เนื่องจากการหลั่ง GH มากกว่าปกติ
• Prolactin (PRL)
หน้าที่
กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุมการทางานของต่อมน้ำนม เพื่อให้มีการสร้างน้านม (Lactation)
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
ต่อมน้านม (Mammary glands)
ชนิดของฮอร์โมน
Peptide hormone
• Adrenocorticotropin (ACTH)
หน้าที่
กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุมการทำงานของต่อมหมวกไต
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
ต่อมหมวกไตชั้นนอก (Adrenal cortex)
ชนิดของฮอร์โมน
Peptide hormone
• Thyroid-stimulating hormone (TSH)
หน้าที่
กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุมการทางานของต่อมไทรอยด์
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
ต่อมไทรอยด์
ชนิดของฮอร์โมน
Glycoprotein hormone
• Follicle stimulating hormonr (FSH)
• Luteinizing hotmone (LH)
Follicle-Stimulating hormone, FSH
ชนิดของฮอร์โมน
Glycoprotein hormone
หน้าที่
ชาย กระตุ้นการเจริญของอสุจิภายในอัณฑะ ทำให้มีการสร้างอสุจิ
หญิง กระตุ้นการเจริญของไข่ในรังไข่ ทำให้มีการพัฒนาไข่ให้สมบูรณ์
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
ชาย Sertoli cells→ Spermatogenesis
หญิง Follicle→ Follicular growth
Luteinizing hormone, LH
ชนิดของฮอร์โมน
Glycoprotein hormone
หน้าที่
ชาย กระตุ้นการสังเคราะห์ฮอร์โมน Testosterone
หญิง กระตุ้นการสังเคราะห์ฮอร์โมน Estrogen และการเจริญเติบโตของไข่ ทาให้ไข่สุก และมีการตกไข
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
ชาย Interstitial cells/Leydig cells → Testosterone production
หญิง Follicle→ Estrogen production→ Ovulation
• Interstitial cell-stimulating hormone (ICSH)
• Melanocyte-stimulating hormone (MSH)
หน้าที่
กระตุ้นการการสร้างเม็ดสีเมลานินบนผิวหนัง (Melanogenesis)
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
เซลล์เมลาโนไซต (Melanocytes)
ชนิดของฮอร์โมน
Peptide hormone
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary)
• Neurohypophysis
• Antidiuretic hormone (ADH)
หน้าที่
กระตุ้นการดูดน้ากลับ เพื่อรักษาสมดุลของน้ำ
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
ท่อไตรวม (Collecting duct)
ชนิดของฮอร์โมน
Peptide hormone
• Oxytocin
หน้าที่
มีผลโดยตรงที่กล้ามเนื้อเรียบของมดลูกและเต้านมโดยกระตุ้น การหลั่ง น้านม, กระตุ้นการคลอด
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
กล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้านม
ชนิดของฮอร์โมน
Peptide hormone
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนไทรอยด์
(Thyroid hormones)
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
เซลล์ที่จัดตัวเป็นวงรูปผีเสื้อ (A butterfly-shaped organ)
สีน้ำตาลเพราะมีเลือดมาเลี้ยงมาก ส่วนล่างช่องคอทางด้านหน้าตรงกับกระดูกสันหลงั ส่วนคอ ต้ังแต่ C6-T1
วางตัวทางด้านในผิวทาบไปกับกล่องเสียงและหลอดลม
กลีบซ้ายและกลีบขวา ส่วนคอดเรียกว่า Isthmus
Follicular cell บรรจุสารที่เรียกว่า Colloid หลั่งฮอร์โมน Thyroxine (T4) และ Tri-iodothyronine (T3)
Parafollicular cell หรือ Clear cell (C-cell) หลั่งฮอร์โมน Calcitonin
ชนิดของฮอร์โมน
Amine hormone
Thyroxin หรือ Tetra-iodothyronine (T4)
Tri-iodothyronine (T3)
หน้าที่
ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
ควบคุมอตั ราการเผาผลาญสารอาหารต่างๆใน่างกาย (Basal metabolic rate)
ควบคุมอุณหภูมิกาย
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
Heart, GI tract, Brain, Bone, Muscle
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนไทรอยด์
(Thyroid hormone and its disorders)
T3 , T4↓ → Hypothyroidism
ภาวะที่ต่อมไทรอยด์ทำงานลดลง ทำให้การเผาผลาญของร่างกายน้อยลง
T3 , T4↑ → Hyperthyroidism
ภาวะที่ต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไปทำให้การเผาผลาญของร่างกายเพิ่มขึ้น
Iodine↓ → Iodine Deficiency
โรคคอพอก (Goiter) เป็นภาวะที่มีการโตขึ้นของต่อมไทรอยด์
แคลซิโทนิน (Calcitonin)
หน้าที่
ลดระดับแคลเซียมในเลือด
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
Parathyroid glands, Kidneys, Bone, GI tract
ชนิดของฮอร์โมน
Peptide hormone
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนพาราไทรอยด์
(Parathyroid hormones)
ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland)
ฮอร์โมนพาราไทรอยด์ (Parathyroid hormone, PTH)
หน้าที่
เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
Kidneys, Bone, GI tract
ชนิดของฮอร์โมน
Peptide hormone
ต่อมแบนรูปกลมรี (Pea-sized glands) สีน้ำตาลอมเหลือง
ทำหน้าที่เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด
Parathyroid (Chief) cell หลั่งฮอร์โมน Parathyroid (PTH)
มีประมาณ 4 ต่อม ติดบริเวณด้านหลังของต่อมไทรอยด์
ต่อมไทมัส (Thymus gland)
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนไทโมซิน
(Thymosin hormones)
ต่อมไทมัส (Thymus gland)
ต่อมอยู่ระหว่างกระดูกหน้าอกกับหลอดเลือด aorta
วางตัวอยู่ด้านหน้าเเละปกคลุมอยู่ทางด้านบนของหัวใจ
2 lobes คือ Right lobe และ Left lobe
หลั่งฮอร์โมน Thymosin ท าหน้าที่พัฒนา T-cells และควบคุมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนต่อมหมวกไต
(Adrenocortical hormones)
ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
ส่วน Adrenal cortex แบ่งได้ 3 ชั้น
Zona fasciculata
ฮอร์โมน Cortisol
รักษาสมดุลในระบบเมตาบอลิซึมของน้ำตาล (Glucose metabolism)
Zona reticularis
ฮอร์โมน Androgen
ควบคุมลักษณะทางเพศ (Masculinization)
Zona glomerulosa
ฮอร์โมน Aldosterone
รักษาสมดุลน้ำและเกลือแร่ (Na+ retention at Collecting ducts)
ส่วน Adrenal medulla
Epinephrine & Norepinephrine
กระตุ้นการทางานของระบบ Sympathetic nervous system
กลุ่มอาการคุชชิ่ง (Cushing's syndrome)
สาเหตุ
เกิดจากการมีเนื้องอกที่ต่อมใต้สมอง สร้าง ACTH ไปกระตุ้น Adrenal cortex (Zona fasciculata) อย่างต่อเนื่อง
• หน้ากลม (Moon face)
• คอมีหนอกยื่น (Buffalo hump)
• แกม้ แดง (Plethora)
• ผิวบาง (Thin skin)
• หน้าท้องมีรอยแตก (Striae)
• ภาวะขาดประจ าเดือน (Amenorrhea)
• เกิดแผลไดง้ ่ายและภูมิคุม้ กนั ตก
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนเมลาโทนิน
(Melatonin hormone)
ต่อมไพเนียล (Pineal gland)
อยู่เหนือสมองส่วนกลางและอยู่หลังต่อโพรงสมองที่3 (Third ventricle)
หลั่งฮอร์โมน Melatonin ทำหน้าที่ควบคุมวงจรการตื่นเเละหลับ
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนตับอ่อน
(Pancreatic hormones)
ตับอ่อน (Pancreas)
Insulin → Blood glucose↓
Glucagon → Blood glucose↑
โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus, DM)
Type II Diabetes Mellitus
ตับอ่อนสามารถสร้างอินซูลินได้ แต่มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน พบในทุกวัยและมักมีภาวะอ้วนร่วม(เกิดจากพฤติกรรม)
Gestational and other DM
มีภาวะขาดหรือดื้อต่ออินซูลิน เกิดภาวะ Hyperglycemia ในหญิงตั้งครรภ์และผู้ที่มีอาการป่วยที่ส่งผลกระทบต่อตับอ่อน
Type I Diabetes Mellitus
ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ มักพบในเด็กหรือผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 30 ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน
ชนิดและการทางานของฮอร์โมนระบบสืบพันธ์ (Reproductive hormones)
อวัยวะสืบพันธุ์และรก (Gonads and Placenta)
เพศชาย (Male)
Testes→Leydig cells→Testosterone
กระตุ้น Secondary sex characteristics
ควบคุมและกระตุน้ การเจริญเติบโตของร่างกาย
กระตุ้นกระบวนการ Spermatogenesis
เพศหญิง (Female)
Ovary→Follicle→Estrogen
กระตุ้น Secondary sex characteristics
ควบคุมและกระตุน้ การเจริญเติบโตของร่างกาย
กระตุ้นกระบวนการ Ovulation
Ovary→Corpus luteum→Progesterone
กระตุ้นการพัฒนาของเต้านมและมดลูกเพื่อรองรับการตั้งครรภ์ และมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของร่างกาย