Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมทางสังคมระดับกลุ่ม - Coggle Diagram
พฤติกรรมทางสังคมระดับกลุ่ม
กลุ่มทางสังคม
ลักษณะสำคัญของกลุ่ม
ความสัมพันธ์
ปฐมภูมิ
ใกล้ชิดกัน สนิทสนมส่วนตัว
ทุติยภูมิ
เป็นไปอย่างทางการ
การติดต่อกัน
ปฐมภูมิ
ส่วนตัว สามารถแสดงความรู้สึกได้อย่างเต็มที่
ทุติยภูมิ
เแ็นไปตามกฎเกณฑ์และสถานภาพความสัมพันธ์เฉพาะด้าน
เหตุผลคนที่เข้ากลุ่ม
เพื่อความมั่นคงปลอดภัย
ความรักใคร่ผูกพัน
มีสถานภาพทางสังคม
เพื่อพิสูจน์คุณค่าในตัวเอง
ความมีอำนาจ
การบรรลุเป้าหมายของงาน
สาเหตุที่ทำให้คนรวมกลุ่มกันอยู่
ความน่าดึงดูดใจของกลุ่ม
ความชื่นชอบหรือสนิทสนมกับสมาชิกในกลุ่ม
ความต้องการได้รับการตอบสนองทางสังคม
การแลกเปลี่ยนทางสังคม
พฤติกรรมของบุคคลเมื่ออยู่ในกลุ่ม
ความดึงดูดใจระหว่างบุคคล
ความใกล้ชิดทางกาย
การมีความคล้ายคลึงกัน
การมีความสามารถ
ความมีเสน่ห์ดึงดูดกาย
อำนาจจากการรวมกลุ่ม
เข้าไปหว่านล้อม
ชักจูงให้มีความคล้อยตาม
บังคับให้คล้อยตามได้โดยใช้คนจำนวนมาก
ความเหนียวแนนของกลุ่ม
เกิดจากอยู่ร่วมกันเป็นระยะเวลานาน
กลุ่มขนาดเล็กมีปฏิสัมพันธ์กันได้มากกว่ากลุ่มใหญ่
กลุ่มที่อยู่ภายใต้ภาวะกดดันจากภายนอกที่ทำให้สมาชิกต้องใกล้กันมากขึ้น
การคิดตามกลุ่ม
ใช้มติเอกฉันท์ของกลุ่ม
การหนุนทางสังคม
เมื่อมีคนอื่นอยู่ ขญะที่บุคคลกำลังทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งผลของการกระทำนั้นจะดีขึ้นมากกว่าไม่มีคนอื่นอยู่ด้วย
แต่งานนั้นต้องเป็นการทำสิ่งที่มีความชำนาญอยู่แล้ว แต่ถ้าเป็นการเรียนรู้สิ่งใหม่ผลงานก็แย่ลง แทนจะดีขึ้น
การถ่วงทางสังคม
บุคคลเข้าใจว่าการใช้ความพยายามของเขาไม่ค่อยจำเป็นต่อความสำเร็จของกลุ่ม
มาตรฐานการทำงานของกลุ่มเป็นสิ่งที่ไม่ชัดเจน บุคคลเข้าใจว่าเขาจะไม่ถูกประเมินเป็นรายบุคคล
บุคคลต้องการดูว่าจะมีใครสักคนที่คนที่ทุ่มเทความพยายามมากกว่าคนอื่นๆ จึงลดความใส่ใจในการทำงานลง
บุคคลไม่เข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างการใช้ความพยายามของเขากับผลที่ต้องการ
การเปรียบเทียบทางสังคม
เมื่อไม่มีเกณฑ์มาตรญาน บุคคลมักจะตัดสินจากความสามารถ ทัศนคติ และพฤติกรรมของตนเอง โดยเปรียบเทียบกับผู้อื่น เพื่อประเมินตนเอง
บุคคลมักจะเปรียบเทียบกับคนที่มีภูมิหลัง และสภาพการณ์ที่ใกล้เคียงกับตน
บุคคลจะไม่ยอมสถานการณ์ที่บุคคลอื่น มีความคิดเห็น และความสามารถที่แตกต่างจากตนมาก
การบริหารความขัดแย้ง
ประเภทของความขัดแย้ง
ภายในตัวบุคคล
บุคคลไม่สามารถตัดสินใจ หรือไม่สามารถเลือกได้
รักพี่เสียดายน้อง
หนีเสือปะจระเข้
เกลียดตัวกินไข่
ระหว่างบุคคล
เป็นความไม่ลงรอยกันของบุคคล 2 คน อาจเป็นความคิดความเชื่อ ค่านิยม อคติ การรับรู้ต่างกัน
ระหว่างกลุ่ม
เป็นความไม่ลงรอยกันระหว่างกลุ่มบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่ายขึ้นไป
ความหมาย
ความรู้สึกนึกคิด หรือการระทำที่ขัดกันทั้งภายในตนเอง ระหว่างบุคคล และระหว่างกลุ่ม ทำให้เกิดความไม่ลงรอยกัน เข้ากันไม่ได้ เกิดการแข่งขันหรือทำลายกัน
การบริหารความขัดแย้ง
การเอาชนะ
การหลบเลี่ยง
การสมานฉันท์ปรองดอง
การร่วมมืออย่างเท่าเทียม
การประนีประนอม
แนวคิดเกี่ยวกับความขัดแย้ง
แนวคิดด้านมนุษยสัมพันธ์ มองว่าเป็นสิ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ บางครั้งก็ดี แต่บางทีก็ไม่มีประโยชน์
แนวคิดสมัยใหม่ ความขัดแย้งหากบริหารจัดการให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม จะก่อให้เกิดประโยชน์มากกว่าผลทางลบ
แนวคิดดั้งเดิม มองว่าเป็นสิ่งไม่ดี ก่อให้เกิดผลทางลบ ต้องกำจัดให้หมดไป