Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Endocrine System ระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
Endocrine System ระบบต่อมไร้ท่อ
บทนําระบบต่อมไร้ท่อ (Introduction to Endocrinology)
• ควบคุมการทํางานของระบบสืบพันธุ์ทั้งในภาวะปกติ, ตั้งครรภ์,และหลังคลอด
• ควบคุมสมดุลของสารน้ำา,เกลือแร่, และอิเล็กทรอไลท์ต่างๆ
• ควบคุมการทํางานของระบบต่างๆในร่างกาย
•ควบคุมการเจรญิ เติบโต,เมทาบอลิซึม,และการพัฒนาของ เซลล์
การควบคุมการหลั่งของฮอร์โมน (Regulation of hormone secretion)
สารเคมีที่ร่างกายสร้างขึ้นนมา เรียกว่า “ฮอร์โมน (Hormones)
ชนิดและการทํางานของฮอร์โมนพาราไ ทรอยด์ (Parathyroid hormones)
•ต่อมแบนรูปกลมรร( Pea-sizedglands)สีน้ําตาลอมเหลือง
• มีอยู่ประมาณ 4 ต่อมติดอยู่บริเวณด้านหลัง ของต่อมไทรอยด์
• Parathyroid (Chief) cell หลั่งฮอร์โมน Parathyroid (PTH) •ทําหน้าที่เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด
ฮอร์โมนพาราไทรอยด์ (Parathyroid hormone, PTH) ชนิดของฮอร์โมนPeptide hormone
หน้าที่•เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด เซลล์หรืออวยัวะเป้าหมาย Kidneys, Bone, GI tract
ชนิดและการทํางานของฮอร์โมนไทรอยด์ (Thyroid hormones)
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
ชนิดของฮอร์ โมนAmine hormone1.Thyroxin หรอื Tetra-iodothyronine (T4)2.Tri-iodothyronine (T3)หน้าที่ • ควบคุมการเจรญิ เติบโตของร่างกาย• ควบคุมอตั ราการเผาผลาญสารอาหารต่างๆในร่างกาย (Basal metabolic rate )• ควบคุมอุณหภูมิกาย
เซลล์หรืออวยัวะเป้าหมายHeart, GI tract, Brain, Bone, Muscle
• กลุ่มเซลล์ที่จัดตัวเป็นวงรูปผีเสื้อ (A butterfly-shaped organ) • มีสีน้ำตาลเพราะมีเลือดมาเลี้ยงมากอยู่ที่ส่วนล่างช่องคอทางด้านหน้าตรงกับกระดูกสันหลังคอ ตั้งแต่C6-T9
•วางตัวทางด้านในผิวทาบไปกับกล่องเสียงและหลอดลม
•Follicularcellบรรจุสารที่เรียกว่า Colloidหลั่ง ฮอร์โมน
T hyroxine(T4) และ Tri-iodothyronine (T3)
• Parafollicular cell หรอื Clear cell (C-cell) หลั่ง ฮอร์โมน Calcitoni
ชนิดและการทํางานของฮอร์โมนตับอ่อน ( Pancreati chormones)
Gestational and other DM
• มีภาวะขาดหรือดื้อต่ออินซูลิน
• เกิดภาวะHyperglycemiaในหญิงตั้งครรภ์
Type I Diabetes Mellitus
• ตับออ่นไม่สามารถสร้างอินซูลินได้
•มักพบในเด็กหรือผู้ที่มีอายุน้อยกว่า30ปีมักผอม(เกิดจากพันธุกรรม)
•ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน
Type II Diabetes Mellitus Gestational and other DM •ตับออ่ นไม่สามารถสรา้ งอนิ ซูลินได้ •มักพบในเด็กหรอื ผู้ทีมีอายุน้อยกวา่ 30 ปมักผอม(เกิดจากพันธุกรรม) •ต้องรกั ษาด้วยการฉีดอนิ ซูลิน • ตับออ่ นสามารถสรา้ งอนิ ซูลินได้แต่มี ภาวะดือต่ออนิ ซูลิน • พบในทุกวยั และมักมีภาวะอว้ นรว่ ม (เกิดจากพฤติกรรม)
ชนิดและการทํางานของฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin hormone)
•ต่อมไพเสียลอยู่เหนือสมองส่วนกลางและอยู่หลังต่อโพรงสมองที่ 3 (Third ventricle) • หลั่งฮอร์โมน Melatonin ทําหน้าที่ควบคุมวงจรการตื่นและการหลับของมนษุย์