Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพ, นางสาวพัชราวรรณ ป้องกัน รหัสนักศึกษา…
การจัดการความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพ
ความหมาย
สิ่งมาจากการเรียนรู้โดยวิธีต่าง ๆ เช่น การอบรม การฝึกฝน การศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า การปฏิบัติ การฟัง ได้มาจะสะสมอยู่ภายใน แต่ละบุคคล
การวัดความสำเร็จของการวัดการความรู้
การวัดผลลัพธ์
การวัดความสำเร็จของการวัดการความรู้
การวัดปัจจัยส่งออก
กระบวนการความรู้ 7 ขั้นตอน
:smiley:1. การบ่งชี้ความรู้
:smiley:2. การสร้างและแสวงกาความรู้
:smiley:3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
:smiley:4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
:smiley:5. กาเข้าถึงความรู้
:smiley:6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
:smiley:7.การเรียนรู้
บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของครู
T (teaching) การสอน
E (ethice) จริยธรรม
A (academic) วิชาการ
C (culturat heritage) การสืบทอดวัฒนธรรม
H(human relationship) การมีมนุษยสัมพันธ์
E (evaluation) การประเมินผล
R (research) การวิจัย
S (service) การบริการ
การสร้างความก้าวหน้าและพัฒนาวิชาชีพ
การพัฒนาวิชาชีพครูของครูที่เน้นความแตกต่างระหว่าง บุคคล มุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้
หัวใจของการปฏิบัติ 2 เรื่อง คือ เรื่องคุณภาพ และโอกาส
คุณภาพการศึกษา
ขวัญแลกำลังใจของครู
สวัสดิการครู
วิทยฐานะ
คืนครูให้นักเรียน
การศึกษาตลอดชีวิต
ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
แนวทางการประเมินผู้ประกอบวิชาชีพสู่มาตรฐานวิชาชีพ
มิติ1 หน่วยที่ถูกประเมิน ครูเป็นเป้าหมายของการประเมินแต่ต้อง อาศัยการประเมินต่าง เช่น การประเมินนักเรียน การประเมินโรงเรียน เป็นต้น
มิติ 2 หน่วยผู้ประเมินและใช้ผลการประเมิน เกี่ยวข้องกับหลายหน่วย ผู้ประเมิน ผู้ถูกประเมิน และผู้รับผิดชอบการประเมิน
มิติ 3 คุณลักษณะที่มุ่งประเมิน กระบวนการประเมินครูเน้น กิจกรรมการเรียนการสอนของครู
มิติ 4 เทคโนโลยีารประเมิน เกี่ยวกับวิธีการประเมินครู ใช้เครื่องมือหลากหลาย มีเกณฑ์และมาตรฐาน การกำหนดขอบเขตการประเมินครู
มิติ 5 จุดประสงค์การปรเมิน เพื่อให้แน่ใจ ถูกนำไปใช้การปรับปรุงและพัฒนาคุรภาพการสอนของครู เพื่อประกัน คุณภาพ
มิติ 6 ผู้ที่รับผิดชอบการประเมิน เกี่ยวกับการนำขั้นตอน การประเมินสู่การปฏิบัติ อาศัยการจากผู้ปกครอง นักเรียน ครู ผู้บริหารสถานศึกษา องค์การครู ผู้บริหารการศึกษา และผู้กำหนดนโยบาย
ปฎิสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2 กลุ่ม หรือ 2 คน โดยทั้งสองต้องมี
1.การมีจุดมุ่งหมายที่สอดคล้องกัน
ความต้องการใฝ่สัมพันธ์
ความพอใจในกิจกรมของผู้อื่น
การส่งเสริมสถานภาพส่วนตัว
การลดความวิตก กังวล
การใช้ควมสัมพันธ์กับคนอื่นเป็นเครื่องมือสำหรับการบรรลุมุ่งหมาย
ความสำคัญของปฎิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูและนักเรียน
1.เป็นหัวใจของการศึกษา
เป็นปัจจัยพื้นฐานในการเรียนของผู้เรียน
ทำให้ผู้เรียนรู้สึก สถานศึกษาเป็นที่มีความอบอุ่นและปลอดภัย
ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดพัฒฯาการที่ดีของเด็กทางด้านอารมณ์ สังคม และการเรียน
การสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับผู้เรียน
การใช้เวลาที่ดีร่วมกัน
หลักความใกล้ชิด การที่ครูแสดงความเอาใจใส่ ความสนใจ
มีวิธีการตอบสนองต่อผู้เรียนที่เหมาะสม
ลดการบรรยายเพิ่มกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน
เพิ่มบทสนทนานอกห้องเรียนมากขึ้น
เพิ่มกิจกรรมพิเศษที่หลากหลายและน่าสนใจ
หลักการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน 5 ประการ
การพัฒนาความรู้และสติปัญา ความสามารถทางสมองนามธรรม
การพัฒนาจิตใจ การพัฒนาคุณลักษณะทางจิตใจ มีพฤติกรรมที่ทั้งทาง จรยธรรม และศีลธรรม
การพัฒนาสุขภาพและศักยภาพทางร่างกาย
การพัฒนานิสัยและความสนใจ ทำให้มีบุคลิกภาพทางบวก เช่น ความร่าเริง แจ่มใส
การพัฒนาความถนัดและความเเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคล
นางสาวพัชราวรรณ ป้องกัน
รหัสนักศึกษา 64B44640317