Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรงพยาบาลในประเทศไทย, นายกานต์ดนัย ปาระบับ 6440216141 - Coggle Diagram
โรงพยาบาลในประเทศไทย
-
กิจกรรมสาธารณสุข
• การป้องกันโรค เช่น การฉีดวัคซีน กินร้อน ช้อนกลางล้างมือ ใส่หน้ากากอนามัย ใส่ถุงยางอนามัย การป้องการไวรัสโคโรน่าระบาด ป้องกันอุบัติเหตุจากการทำงานป้องกันอุบัติเหตุจากการจราจร ป้องกันโรคและความเจ็บป่วยจากการทำงาน (แสง เสียง ฝุ่ นละออง PM
2.5)
-
-
-
-
-
ผู้ป่วยที่มาโรงพยาบาล
-
•IPD : In patient departmentเมื่อผู้ป่วยออกจาก รพ. เรียกว่าจำหน่ายออก(Discharge) โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะมีบทบาทในการฟื้นฟูผู้ป่วยที่บ้าน
-
-
-
-
-
•รพ.สต. มีขึ้นในปี 2552 รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะมีนโยบายที่จะพัฒนาสถานีอนามัยหรือศูนย์สุขภาพชุมชนให้มีศักยภาพขึ้น จึงจัดสรรงบประมาณเพื่อยกระดับสถานีอนามัยหรือศูนย์สุขภาพชุมชนให้เป็น รพ.สต.
-
•รพ.สต. เดิมนั้นคือสถานีอนามัยหรือศูนย์สุขภาพชุมชนเป็นสถานพยาบาลประจำตำบลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีขีดความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary Care)
รพ.มหาวิทยาลัยเป็น รพ.ในมหาวิทยาลัยและโรงเรียนแพทย์เป็นศูนย์บริการทางแพทย์ระดับตติยภูมิ (Super
Tertiary Care) มีขีดความสามารถในการให็บริการและมีความพร้อมในการรักษาสูงสุด เนื่องจากเป็น รพ.ที่ใช้สำหรับการเรียนการสอนเพื่อผลิตบุคลากรทางการแพทย์และการค้นคว้าวิจัยต่างๆ
-
•รพ.สต. โดยเกือบทั้งหมดจะไม่รับผู็ป่วยในและไม่มีแพทย์ทำงานอยู็ประจำ แต่จะอาศัยความร่วมมือกับแพทย์ในรพช.
โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) เป็น รพ. สังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยเป็น รพ. ประจำจังหวัดประจำภูมิภาคที่มีขีดความสามารถระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) มีจำนวนเตียงมากกว่า 500 เตียง ในประเทศไทยมีอยู่ 34แห่ง เช่น รพ.มหาราชนครราชสีมา (1680 เตียง) รพ.ขอนแก่น รพ.บุรีรัมย์ รพ.ศรีสะเกษ
•โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) เป็นสถานบริการทางสาธารณสุข เป็นหน่วยงานที่อยู่ภายใต้กระทรวงสาธารณสุข สังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ รพ.สต.เกี่ยวข้องกับประชาชนในเขตรับผิดชอบตั้งแต่เกิดจนตาย ตำบลหนึ่งๆจะมี รพ.สต. ประมาณ 1-2 แห่ง มีทั้งหมด 9863 แห่ง
-
•โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) เป็น รพ. สังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยเป็น รพ.ประจำอำเภอทั่วไป มีขีดความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary Care) หรือระดับทุติยภูมิในบางแห่งมีจำนวนเตียง 10-120 เตียงในประเทศไทยมีอยู่ 723 แห่ง
•Primary care unit (PCU) ได้แก่ รพ.สต. ทุก
แห่ง , ศูนย์แพทย์ชุมชน
•โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) เป็น รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยเป็น รพ.ประจำจังหวัดทั่วไปหรือ รพ.ประจำอำเภอขนาดใหญ่ที่มีขีดความสามารถระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) มีจำนวนเตียง 120-500 เตียงในประเทศไทยมีอยู่ 83 แห็ง เช่น รพ.ปากช่องนานา รพ.มหาสารคาม รพ.กาฬสินธุ์ รพ.หนองคาย
•รพ.เฉพาะทางที่ดูแลผู็ป่วยด้านจิตเวชจะขึ้นตรงกับกรมสุขภาพจิต เช่น รพ.ศรีธัญญา รพ.จิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์
โรงพยาบาลเป็นสถานที่ให้บริการด้านสุขภาพ เน้นส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟืนฟูภาวะความเจ็บป่วย หรือโรคต่างๆ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
•รพ.เฉพาะทางอื่นๆ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและในส่วนภูมิภาคจะขึ้นตรงกับกรมการแพทย์ทั้งหมด เช่นสถาบันมะเร็งแห่งชาติ สถาบันทรวงอก สถาบันประสาทสถาบันโรคผิวหนัง เป็นต้น
-