Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการศึกษากับเครื่องมือการวิจัย, นายทฤษฎี…
ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการศึกษากับเครื่องมือการวิจัย
พฤติกรรมการศึกษาด้านพุทธิพิสัย (cognitive domain)
หมายถึงพฤติกรรมที่เกี่ยวกับความสามารถของ
สมองในการคิดหรือพัฒนาการทางด้านสติปัญญา
เครื่องมือการวิจัย
แบบทดสอบ
เป็นชุดของคำถาม รายการหรืองานใดๆ ที่ใช้เป็นสิ่งเร้าในการกระตุ้นให้ผู้ถูกสอบได้ แสดงคุณลักษณะ,พฤติกรรมและสิ่งต่างๆ ตามจุดประสงค์ของแบบทดสอบแล้วจะต้องบอกได้ว่าสิ่งที่แสดงออกมาถูก หรือผิดมากน้อยเพียงใด
พฤติกรรมการศึกษาด้านจิตพิสัย (affective domain)
หมายถึงพฤติกรรมที่เกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด หรือลักษณะการสร้างนิสัยของบุคคล เช่น เจตคติ ความสนใจ ความซาบซึ้ง คุณธรรม และการปรับตัว
เครื่องมือการวิจัย
แบบสังเกต
คือเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้ประสาทสัมผัสของผู้สังเกตเฝ้าดู
พฤติกรรมต่างๆที่บุคคลนั้นแสดงออกมา ในลักษณะที่เป็นจริง ตามธรรมชาติ
แบบวัดเจตคติ
คือเครื่องมือใช้วัดความคิดเห็น ความเชื่อถือ หรือเจตคติของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
แบบสอบถาม
เป็นชุดของข้อคำถามที่จัดเรียงไว้อย่างเป็น
ระเบียบระบบสำหรับส่งให้กลุ่มเป้าหมาย อ่านและตอบคำถามด้วยตนเอง
แบบสัมภาษณ์
เป็นการสนทนาระหว่างผู้สัมภาษณ์กับผู้ให้สัมภาษณ์แต่ผู้สัมภาษณ์จะต้องมีการวาง แผนและเตรียมการให้พร้อมทั้งดำเนินการตามขั้นตอนจะช่วยให้ได้ความจริงจากผู้ให้สัมภาษณ์
พฤติกรรมการศึกษาด้านทักษะพิสัย (psychomotor domain)
เครื่องมือการวิจัย
แบบสอบถาม
เป็นชุดของข้อคำถามที่จัดเรียงไว้อย่างเป็น ระเบียบระบบสำหรับส่งให้กลุ่มเป้าหมาย อ่านและตอบคำถามด้วยตนเอง
แบบสังเกต
คือเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้ประสาทสัมผัสของผู้สังเกตเฝ้าดู
พฤติกรรมต่างๆที่บุคคลนั้นแสดงออกมา ในลักษณะที่เป็นจริง ตามธรรมชาติ
หมายถึงเป็นความสามารถในการปฏิบัติ โดยใช้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆของร่างกาย
ทำงานประสานกับประสาทสัมผัส ได้อย่างคล่องแคล่ว
นายทฤษฎี แก้ววันดีธนโชติ รหัส 047 สังคมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 2