Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปสาระการเรียนรู้ VDO 14-15 26/2/2565 - Coggle Diagram
สรุปสาระการเรียนรู้
VDO 14-15 26/2/2565
vdo 14 แนวคิดและเทคนิคในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประมาณในการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้้
บทบาทของสถิติในการวิจัย
ประชากร
กลุ่มตัวอย่าง
ค่าสถิติ
ค่าพารามิเตอร์
ประเภทของสถิติในการวิจัย
สถิติบรรยาย เป็นสถิติที่ใช้ในการบรรยาย อธิบายเกี่ยวกับลักษณะต่างๆของกลุ่มตัวอย่าง
/ประชากรที่ศึกษา
ไม่ใช้ในการสรุปอ้างอิงไปยังประชากร
การแจงแจงความถี่ การวัดแนวโน้มเข้าสู้ส่วนกลาง (mean medium mode) การวัดกระจายอ(พิสัย SD ความแปรปรวน) การวัดความสัมพันธ์
ใช้สถิติในบรรยายสองส่วน
ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลที่รวบรวม
สถิติอนุมาน เป้นสถิติที่ใช้สรุปอ้างอิงค่าสถิติต่างๆที่เกิดขึ้นในกลุ่มประชากรของกลุ่มตัวอย่าง
ความถูกต้องในการอ้างอิงขึ้นอยู่กับคุณภาพของการสุ่มตัวอย่าง ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม
สถิติเชิงพรรณา
การวัดค่ากลางของข้อมูล
ค่าเฉลี่ย Mean ค่าที่คำนวณได้จากการนำค่าผลรวมของข้อมูลทั้งหมดหารด้วยจำนวนทั้งหมด
มัธยฐาน Median ค่าของข้อมูลที่อยู่ ณ ตำแหน่งกลางของชุดข้อมูล
ฐานนิยม Mode ค่าของข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด
ข้อพิจารณาในการเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
จุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ขอการวิจัย
ตัวแปรที่ศึกษา
ข้อมูลมาจากกลุ่มตัวอย่างหรือประชากร
มาตรวัดตัวแปร
ข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติที่เลือกใช้
ตัวแปรทางการศึกษา
นักเรียน
โรงเรียน
ครู
หลักสูตร
สื่อการสอน
มาตรในกรวัด
มาตรานามบัญญัติ เป็นการกำหนดตัวเลขเพื่อจำแนกประเภทสิ่งของ/คุณลักษณะ
เพศ
สังกัด
มาตราอันดับ บอกลำดับและความแตกต่างได้ไม่สามารถบอกคุณลักษณะหรือคุณสมบัติมากน้อยกว่ากัน
ลำดับผลการสอบ
ลำดับการแข่งขัน
มาตราอันตภาค/ช่วง ไม่มีศูนย์แท้
คะแนนสอบ
อุณหภูมิ
มาตราอัตราส่วน มีศูนย์แท้
น้ำหนัก ส่วนสูง
อายุ
ระยะทาง
สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
กรณีที่มีการสุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็กจะใช้ t-test ทดสอบ ซึ่วสภาพการทดลองในชั้นเรียนมี 3 ลักษณะ
ใช้ห้องเรียนห้องเดียวทดสอบกับเกณฑ์ one-sample t-test
ใช้ห้องเรียนห้องเดียวทดสอบก่อนหลัง Paired-sample t-test
ใช้ห้องเรียนสองห้อง ห้องหนึ่งเป็นกลุ่มทดลอง ห้องหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุม Indendent-sample t-test
กรณีที่ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง รายงานเป็นคะแนนพัฒนาการ
คะแนนพัฒนาการ คือ ค่าที่เป็นตัวเลขจากการเปรียบเทียบผลการวัดพฤติกรรมของผู้เรียนคนเดิมตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป กระบวนการผู้สอนดำเนินการได้ตั้งแต่ ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และสิ้นสุดการเรียน
vdo 15แนวทางการนำเสนอผลการวิจัยในบทที่ 4 และบทที่ 5 ของการรายงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
บทที่ 4ขั้นตอนการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
อ่านค่าสถิติที่ได้จากการวิเคราะห์ โดยการบรรยายให้รายละเอียดอย่างชัดเจน ควรใช้ระดับแปลความทางสถิติ ไม่ควรใช้ตีความหรือขยายความ
ให้ความหมายค่าสถิติที่ได้และสรุปผลการทดสอบสมมุติฐานว่าสอดคล้องหรือขัดแย้งกับสมมุติฐานที่กำหนดไว้ และสรุปข้อมูลข้อมูลอ้างอิงจากกลึ่มตัวอย่างสู่ประชากร
สรุปความหมายผลของการวิเคราะห์ ใช้สมุติฐานการวิจัยเป็นแนวทาง
เปรียบเทียบผลการวิเคราะห์เพื่อใช้ตอบคำถามการวิจัยว่ามีความสอดคล้องขัดแย้งอย่างไร
นำเสนอในลักษระที่สื่อความหมายให้ผู้ศึกษาได้เข้าใจง่ายในรูปของ ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ หรือกราฟ
บที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
เป็นขั้นตอนสุดท้่ยของการวิจัย ผูู้วิจัยต้องทำอย่างละเอียดรอบคอบ เป็นส่วนที่แสดงซึ่งความรู้ ความสามารถของผู้วิจัย ความเชี่ยวชาญ ความแหลมคมของผู้ทำวิจัย
การสุปผลการวิจัย
เป็นการสรุปย่อความยที่ 1 3 และ 4
เริ่มต้นด้วยการสรุปความสำคัญของการศึกษษครั้งนี้และวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ต่อด้วยประชากร กลุ่มตะวอย่าง ขอบเขตการศึกษา เครื่องมือวิจัย วิธีเก็บแลัวิเคราะห์ข้อมูล
ปิดด้วยสรุปผลการศึกษา โดยสรุปตามวัตถุประสงค์
ใช้กระบวนการเรียบเรียงอย่างร้อยเรียงกัน
การอภิปรายผลการวิจัย
เป็นการยืนยัน ประเมิน ขยายความผลการวิจัยให้เป็นที่ยอมรับ ให้ผู้อ่านเห็นคล้อยตามและเชื่อถือได้ และเห็นความสำคัญของวิจัยเรื่องนี้ ด้วยการหาหลักฐานและพยานมาสนับสนุน เช่น ทฤษฎี/งานวิจัยในอดีต
เป็นการอธิบายให้เหตุผลตามหลักวิชาว่า เพราะเหตุใดจึงทำให้ผลการวิจัยที่ได้ สอดคล้องหรือขัดแย้งกับสมมุติฐาน รวมทั้งกำหนดประเด็นปัญหาที่ควรแก้ไขปรับปรุงห หรือศึกษาวิจัยต่อไป
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะในการนำผลวิจัยไปใช้ เป็นข้อเสนอว่าผู้อ่านสามารถนำผลการวิจัยที่ได้ไปทำอะไร ใช้ประดยชน์อย่างไร มีอะไรที่พึงระวังในการนำผลการวิจัยไปใช้
ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป เป็นข้อเสนอต่อผู้อ่านว่า ควรทำประเด็นปัญหาอะไรเพิ่มเติม ควรศึกษาตัวแปรใดเพิ่มเติม หรือควรใช้ระเบียบวิธีแบบใด
ระดับของการสะท้อนผลการวิจัย
ระดับการบรรยายสภาพที่เกิดขึ้น เป็นการวิพากษ์เนื้อหาสภาพที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนหรือข้อค้นพบต่างๆ
ระดับการประเมินข้อค้นพบ เป็นการวิพากษ์เชิงประเมินสิ่งที่ดำเนินการหรือสิ่งที่ค้นพบดีหรือไม่ดีอย่างไร เพราะอะไร
ระดับการอธิบายข้อค้นพบ เป้นระับที่สูงขึ้นมากกว่าระดับการประเมิน เป็นการวิพากษ์เพื่อหาคำอธิบายต่อสิ่งที่ค้นพบ
ระดับใช้การประยุกต์ใช้สิ่งที่ค้นพบ เป็นการวิพากษ์เพื่อนำผลที่ค้นพบไปใช้ประโยชน์ ปรับปรุงแนวทางในการปฏิบัติครั้งต่อไป