Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 12 การประเมินผลและการทำให้ Intervention เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร,…
บทที่ 12
การประเมินผลและการทำให้ Intervention เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร
การประเมินผล(Evaluation)
การให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับนำ Intervention ไปใช้ (Implementation Feedback)
การประเมินผลที่มีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดข้อแนะนำหรือเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับ เกี่ยวกับการนำ
Intervention ไปใช้ในองค์กร
การให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการประเมินผล(Evaluation Feedback)
การประเมินเพื่อจะค้นหาผลของ Intervention
การวัด Intervention Feedback และ Evaluation Feedback ประกอบด้วย
การเลือกตัวแปร
ตัวแปรที่จะถูกวัดในการประเมินผล Intervention จะต้องมาจาก กรอบแนวคิด ทฤษฎี ที่เป็นที่มาของIntervention
การออกแบบวิธีการวัดที่ดี จะต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
การให้นิยามปฏิบัติการ
เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง
นิยามปฏิบัติการ ประกอบด้วยความหมายและวิธีการวัด
ความเชื่อมั่นของเครื่องมือวัด
ความเที่ยงตรงของเครื่องมือวัด
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
ความเที่ยงตรงเชิงเกณฑ์
ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง
แบบแผนการวิจัยประเมินผล
แบบแผนการวิจัยที่นิยม คือ Quasi-Experimental Research Design ซึ่งมีลักษณะเด่น 3 ประการ
ในการประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
เป็นการวัดผลระยะยาว
เป็นการวัดผลซ้ำๆ เมื่อเวลาผ่านไป
หน่วยในการเปรียบเทียบ
สามารถเปรียบเทียบผลของ Intervention ในสถานการณ์หนึ่งกับอีกสถานหนึ่ง
ซึ่งไม่ได้รับIntervention
การวิเคราะห์ทางสถิติ
Quasi-Experimental research designs สามารถใช้สถิติต่างๆ เพื่อวิเคราะห์ผลได้
ประเภทของการเปลี่ยนแปลง มี 3 ชนิด
Alpha Change การเคลื่อนจากสภาพก่อนการให้ Intervention ไปสู่สภาพหลังการให้ Intervention
โดยตัวแปรต่างๆอยู่ในสภาพคงที่ (ไม่มีการเปลี่ยนแปลง)
Beta Change ตัวแปรมีการเปลี่ยนแปลง หลังจากการนำ Intervention ไปใช้
Gamma Change ตัวแปรต่างๆมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัด หลังจากการนำ Intervention ไปใช้
การทำให้ Intervention เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร
ลักษณะขององค์กร
ความสอดคล้อง ความคงที่
สหภาพ
กระบวนการทำให้ Intervention เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร
การถ่ายทอดทางสังคม
ความผูกพัน
การให้รางวัล
การแพร่กระจายการตรวจสอบ
ดัชนีชี้วัด
ความรู้
ผลงาน
ความเห็นของคนส่วนใหญ่
ความเห็นเกี่ยวกับค่านิยม
ลักษณะของ Intervention
ความเฉพาะเจาะจงของวัตถุประสงค์
ความสามารถในการจัดระเบียบ
ระดับของเป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง
การได้รับการสนับสนุนจากภายใน
ผู้สนับสนุน(Sponsor)
ลักษณะของ Intervention
ความเฉพาะเจาะจงของเป้าหมายของ Intervention
ช่วยกำหนดทิศทางของการถ่ายทอดทางสังคม(Socialization)
ความสามารถในการจัดระเบียบ(Programmability)
การที่สามารถระบุลักษณะที่หลากหลายของ Intervention ได้อย่างชัดเจน และล่วงหน้าได้มากเพียงใด
ระดับของเป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง
เป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง คือ การเปลี่ยนแปลงทั้งองค์กรมากกว่ากลุ่มงานเล็กๆ หรือแผนก
การได้รับการสนับสนุนจากภายใน
มีระบบการสนับสนุนภายในเพื่อทำหน้าที่แนะนำกระบวนกาเปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใด โดยที่ทั้ง Internal และ External OD consultant สามารถให้การสนับสนุนได้
ผู้สนับสนุน(Sponsor)
บุคคลที่ริเริ่ม หรือได้รับมอบหมาย หรือได้รับอนุญาตให้ใช้ทรัพยากรสำหรับการนำ Intervention ไปใช้ ผู้สนับสนุนจะต้องมาจาก ระดับที่สูงพอสมควรที่จะมีอำนาจในการควบคุมทรัพยากร
กระบวนการทำให้ Intervention เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร
การถ่ายทอดทางสังคม(Socialization)
กระบวนการถ่ายทอด ค่านิยม ความเชื่อ ความชอบ บรรทัดฐานทางสังคม ที่เกี่ยวกับ Intervention แก่สมาชิกในองค์กร
ความผูกพัน(Commitment)
การทำให้สมาชิกสัญญาว่าจะทำพฤติกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับ Intervention ที่จะนำไปใช้ ความผูกพันควรมาจากหลายๆระดับขององค์กร
การให้รางวัล(Reward allocation)
การให้รางวัลแก่ พฤติกรรมใหม่ๆที่เกิดขึ้น ตามความต้องการของ Intervention
การแพร่กระจาย(Diffusion)
การถ่ายโยง Intervention จากระบบหนึ่ง ไปสู่อีกระบบหนึ่ง
การตรวจสอบและแก้ไข(sensing and calibration)
การตรวจสอบสิ่งที่ผิดปกติ จากพฤติกรมที่ต้องการตาม Interventionและทำการแก้ไขสิ่งผิดปกตินั้น
ดัชนีชี้วัดการนำ Intervention มาเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร
ความรู้(Knowledge)
ผลงาน(Performance)
ความเห็นเกี่ยวกับค่านิยม(Value Consensus)
ความเห็นของคนส่วนใหญ่(Normative Consensus)
นายธนกร เอกบุตร 62021000