Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงขนส่งและจัดการห่วงโซ่อุปทาน - Coggle Diagram
การลำเลียงขนส่งและจัดการห่วงโซ่อุปทาน
การลำเลียงขนส่ง
หน้าที่ของการลำเลียงขนส่ง
ด้านการผลิต
การเคลื่นย้ายปัจจัยการผลิต
ด้านการตลาด
การเคลื่่อนย้านสินค้าและบริการไปสู่ผู้บริโภคได้ทันเวลา
เป็นตัวเชื่อมช่องว่างระหว่างสถานที่ต่างๆ
ยานพาหนะและอุปกรณ์ที่ใช้ในการลำเลียงขนส่ง
เครื่องจักรอุปรกรณ์ที่ใช้ลำเลียงขนส่งภายในโรงงาน
ยานพาหนะและอุปกรณ์ที่ใช้ลำเลียงขนส่งภายนอกโรงงาน
เครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใช้ขนส่งภายในโรงงาน
รางเลื่อน
รางเลื่อนผ้ายาง
ระบบลำเลียงลูกกลิ้ง
รางเลื่อนที่เป็นเกลียว
โครงยกสิ่งของ
รถเข็น
ปั้นจั่น
ชั้นวางวัสดุชนิดเคลื่อนที่ได้
รถอุสาหกรรม
หุ่นยนต์
รถอัตโนมัติ
ก้ามจับวัสดุ
คามหาม
พาหนะและอุปกรณ์ที่ใช้ลำเลียงส่งภายนอกโรงงาน
ทางอากาศ
เครื่องบิน
ทางบก
รถบรรทุก
รถไฟ
การขนส่งทางท่อ
ทางน้ำ
การขนส่งทางลำน้ำ
การขนส่งทางทะเล
การขนส่งเลียบชายฝั่ง
สินค้าที่ขนส่งทางน้ำ
สินค้าเทกองหรือ รวมกอง
สินค้าหีบห่อ
ปัจจัยที่สำคัญของการประกอบกิจการขนส่ง
เส้นทาง
ยานพาหนะ
สถานีขนส่ง
การพัฒนาการขนส่ง
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
การประหยัดค่าใช้จ่าย
การลดเวลาขนส่ง
เศรษฐศาสตร์การขนส่ง
เศรษฐกิจขนส่ง
วิศวกรรมการขนส่ง
การวัดผลผลิตของการขนส่ง
การขนส่งคน (หน่วยวัดเป็นคน-ไมค์ หรือ คน-กิโลเมตร)
การขนส่งสินค้า (หน่วยวัดเป็น ตัน-ไมค์ กิโลกรัม-กิโลมตร
รูปแบบการให้บริการขนส่ง
การให้บริการขนส่งส่วนบุคคล
การให้บริการขนส่งสาธารณะ
บริการขนส่งเฉพาะคู่สัญญา
การตัดการห่วงโซ่อุปทานและ การส่งกำลังบำรุง
การจัดการห่วงโซ่อุปทาน
บูรณาการประสานงานด้านสินค้าและข่าวสารระหว่างองค์กร
การขนย้ายวัตถุดิบ วัสดุ สินค้าระหว่างผลิต เพื่อผลิตสินค้าและบริการ
การจัดการส่งกำลังบำรุง
เป็นการขนย้ายสิ่งของจากแหล้งกำเนิดไปสู่การผลิตจนได้สินค้าสำเร็จรูป ให้กับผู้บรโภคคนสุดท้าย
งานหลักของการซ่อมบำรุง
การสนับสนุนกระบวนการผลิต
การสนับสนุนการกระจายผลผลิต
การสนับสนุนการกระจายผลิตผลิต
การสนับสนุนหลังการขาย
การจัดการงานกำลังซ่อมบำรุง
การจัดการห่วงโซ่อุปทานและการส่งกำลังบำรุงประเทศไทย
เน้นการกระจายสินค้า
ส่งกำลังบำรุงระดับองค์กร
สร้างเครือข่ายการส่งกำลังบำรุงระดับชาติ
สร้างเครือข่ายการส่งกำลังบำรุงระดับโลก
วิวัฒนาการของระบบห่วงโซ่อุปทานธุรกิจค้าปลีกไทย
พ.ศ.2487-2500อำนาจต่อรองอยู่ที่ผู้ค้าส่ง
พ.ศ.2500-2516 อำนาจต่อรองเปลี่ยนมายังผู้ผลิต
พ.ศ.2517-2537 อำนาจต่อรองเป็นของกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
พ.ศ.2538-2546 อำนาจต่อรองเป็นของกิจการค้าปลีกข้ามชาติ
พ.ศ.2547 อำนาจต่อรองสูงสุดอยู่ที่กิจการค้าปลีกข้าามชาติ