Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chapter 12 การประเมินผลและการทำให้ Intervention เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร …
Chapter 12
การประเมินผลและการทำให้ Intervention เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร
การประเมินผล(Evaluation)
คือ
การให้ข้อมูลย้อนกลับ แก่ OD Practitioner และ สมาชิกองค์กร
เกี่ยวกับความก้าวหน้าและผลของ Intervention
ประเภท
การให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับนำ Intervention ไปใช้ (Implementation Feedback)
คือ
การประเมินผลที่มีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดข้อแนะนำหรือเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับ เกี่ยวกับการนำ
Intervention ไปใช้ในองค์กร
การให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการประเมินผล(Evaluation Feedback)
คือ
การประเมินเพื่อจะค้นหาผลของ Intervention
การวัด Intervention Feedback และ Evaluation Feedback
ประกอบด้วย
การเลือกตัวแปร
ตัวแปรที่จะถูกวัดในการประเมินผล Intervention จะต้องมาจาก กรอบแนวคิด ทฤษฎี ที่เป็นที่มาของ
Intervention
วิธี
กรอบแนวคิดทฤษฎี
จะวัดตัวแปรใดบ้างในการประเมินผล
การออกแบบวิธีการวัดที่ดี
ความเชื่อมั่นของเครื่องมือวัด
ความเที่ยงตรงของเครื่องมือวัด
ความเที่ยงตรงเชิงเกณฑ์
ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
การให้นิยามปฏิบัติการ
เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง
นิยามปฏิบัติการ ประกอบด้วยความหมายและวิธีการวัด
แบบแผนการวิจัยการประเมินผล
สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึง
ความเที่ยงตรงภายใน(Internal Validity) :
คือ
เหตุ(x) ทำให้เกิดผล(y) จริง Interventionทำให้เกิดผลที่ Org. ต้องการ
ความเที่ยงตรงภายนอก(External Validity)
คือ
การที่ Intervention
สามารถใช้ได้ผลเหมือนเดิมในสถานการณ์อื่นๆ
แบบแผนการวิจัยที่นิยมQuasi-Experimental Research Design
ลักษณะเด่น 3 ประการ
ในการประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
หน่วยในการเปรียบเทียบ
การวิเคราะห์ทางสถิติ
เป็นการวัดผลระยะยาว
ประเภทของการเปลี่ยนแปลง
Beta Change
ลักษณะ
ตัวแปรมีการเปลี่ยนแปลง หลังจากการนำ Intervention ไปใช้
Gamma Change
ลักษณะ
ตัวแปรต่างๆมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัด หลังจากการนำ Intervention ไปใช้
Alpha Change
ลักษณะ
การเคลื่อนจากสภาพก่อนการให้ Intervention ไปสู่สภาพหลังการให้ Intervention
โดยตัวแปรต่างๆอยู่ในสภาพคงที่ (ไม่มีการเปลี่ยนแปลง)
การทำให้ Intervention เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร (Institutionalizing Interventions)
หมายถึง
การทำให้ Intervention เป็นส่วนหนึ่งอย่างถาวร ของการดำเนินงานปกติขององค์กร
กรอบแนวคิด
ลักษณะขององค์กร
ความคงที่
คือ
ระดับของการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมคง Org. และเทคโนโลยี
สหภาพ
คือ
การแพร่กระจายของ Intervention จะยากใน Org. ที่มีความเป็นสหภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าการเปลี่ยนแปลงนั้นมีผลกระทบต่อประเด็นที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงของสหภาพ
ความสอดคล้อง
คือ
ความสอดคล้องกันของ Intervention กับสิ่งต่างๆ
เช่น
ยุทธศาสตร์
โครงสร้าง Org.
ปรัชญาในการบริหารจัดการของ Org.
สภาพแวดล้อมปัจจุบันของ Org.
มีความสอดคล้องกันตามการับรู้ของสมาชิกองค์กร
ลักษณะของ Intervention
ระดับของเป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง
เป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง คือ การเปลี่ยนแปลงทั้งองค์กรมากกว่ากลุ่มงานเล็กๆ หรือแผนก
การได้รับการสนับสนุนจากภายใน(Internal Support)
มีระบบการสนับสนุนภายในเพื่อทำหน้าที่แนะนำกระบวนการเปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใด โดยที่ทั้ง Internal และExternal OD consultant สามารถให้การสนับสนุนได้
ความสามารถในการจัดระเบียบ(Programmability)
การที่สามารถระบุลักษณะที่หลากหลายของ Intervention ได้อย่างชัดเจน
และล่วงหน้าได้มากเพียงใด
ผู้สนับสนุน(Sponsor)
หมายถึง
บุคคลที่ริเริ่ม หรือได้รับมอบหมาย หรือได้รับอนุญาตให้ใช้ทรัพยากรสำหรับการนำIntervention ไปใช้ ผู้สนับสนุนจะต้องมาจากระดับที่สูงพอสมควรที่จะมีอำนาจในการควบคุมทรัพยากร
ความเฉพาะเจาะจงของเป้าหมายของ Intervention
ช่วยกำหนดทิศทางของการถ่ายทอดทางสังคม(Socialization)
กระบวนการทำให้ Intervention เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร
การให้รางวัล(Reward allocation)
คือ
การให้รางวัลแก่ พฤติกรรมใหม่ๆที่เกิดขึ้น ตามความต้องการของ Intervention
การแพร่กระจาย(Diffusion)
คือ
การถ่ายโยง Intervention จากระบบหนึ่ง ไปสู่อีกระบบหนึ่ง
ความผูกพัน(Commitment)\
คือ
การทำให้สมาชิกสัญญาว่าจะทำพฤติกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับ Intervention ที่จะนำไปใช้
ความผูกพันควรมาจากหลายๆระดับขององค์กร
การตรวจสอบและแก้ไข(sensing and calibration)
คือ
การตรวจสอบสิ่งที่ผิดปกติ จากพฤติกรมที่ต้องการตาม Intervention
และทำการแก้ไขสิ่งผิดปกตินั้น
การถ่ายทอดทางสังคม(Socialization)
คือ
กระบวนการถ่ายทอด ค่านิยม ความเชื่อ ความชอบ บรรทัดฐานทางสังคม ที่เกี่ยวกับ
Intervention แก่สมาชิกในองค์กร
ดัชนีชี้วัดการนำ Intervention มาเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร
ผลงาน(Performance)
สมาชิก แสดงพฤติกรรมตาม Intervention มากน้อยเพียงใด
ความเห็นของคนส่วนใหญ่(Normative Consensus)
สมาชิกองค์กร เห็นด้วยว่า การเปลี่ยนแปลงนั้นมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด
ความรู้(Knowledge)
สมาชิก มีความรู้อย่างเพียงพอเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับ Intervention
สมาชิก มีความรู้อย่างเพียงพอที่จะกระทำพฤติกรรมนั้นๆ จะทราบผลของการกระทำ
ความเห็นเกี่ยวกับค่านิยม(Value Consensus)
ความเห็นทางสังคมเกี่ยวกับค่านิยมที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนองค์กร
เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการ OD