Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 63 ปี - Coggle Diagram
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 63 ปี
CC : ปวดหลังมีอาการไข้เป็นๆหายๆ 6 เดือนก่อนมารพ.
PI : 1 ปีก่อนมารพ. เริ่มมีอาการปวหลังบริเวณตรงกลาง ปวดแบบร้าว เป็นครั้งคราว เป็นมากขึ้นเวลายกของหนัก
ผู้ป่วยจึงใส่ที่พยุงหลังมีอาการดีขึ้น
10 เดือนก่อนมารพ.มีอาการปัสสาวะแล้วแสบ ปัสสาวะบ่อยขึ้นจึงไปรพ.พบติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะได้รับการรักษาจนอาการดีขึ้น
6 เดือนก่อนมารพ.ยังมีอาการปวดหลังแบบเดิมอยู่มีอาการไข้เป็นๆหายๆปัสสาวะตอนกลางวัน 3-4 ครั้งกลางคืน 3-4 ครั้งไม่มีอาการปัสสาวะแสบขัดเป็นฟองหรือตะกอนไม่มีปัสสาวะเป็นเลือดไม่ปวดท้องหรือท้องน้อยไม่มีคลื่นไส้อาเจียนไม่มีท้องเสียถ่ายเหลว
DX. Urinary bladder stone
เกิดจากการตกตะกอนหรือตกผลึกของหินปูนหรือเกลือแร่ในร่างกายซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลายชนิดเช่นแคลเซียมออกซาเลต ฟอสเฟตกรดยูริคและอิน มักเกิดจากการขับปัสสาวะออกไม่หมด การที่มีน้ำปัสสาวะคั่งค้างในกระเพาะปัสสาวะนานวันเข้าก็จะเกิดการตกตะกอนแล้วค่อยๆโตเป็นก้อนนิ่ว เมื่อมีนิ่วอุดกั้น ในทางเดินปัสสาวะทำให้เกิดการติดเชื้อได้เนื่องจากมีการคั่งค้างของน้ำ
ปัสสาวะตามส่วนต่างๆในทางเดินปัสสาวะและภาวะ hydronephrosis ทำ ให้เนื้อไตถูกเบียดความ
หนาของเนื้อไตบางลงและพบ polymorphs และ round cells จำนวนมาก ลักษณะของglomeruliจะ
มีการอักเสบทั่วไป การติดเชื้อเรื้อรังอาจทำให้เยื่อบุทางเดินปัสสาวะ (transitionalcells) เกิดการเปลี่ยนแปลง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 1 : เป็นนิ่ว เนื่องจากติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ อั้นปัสสาวะ ปวดหลัง ทำความสะอาดอวัยวะเพศไม่สะอาด
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการปวดหลัง ปัสสาวะแสบ ปัสสาวะบ่อย
O: ติดเชื้อทางเดินปัสสวะ อั้นปัสสาวะ ปวดหลัง ทำความสะอาดอวัยวะเพศไม่สะอาด
กิจกรรมทางการพยาบาล
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะนิ่วและการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะเช่นปวดหลังปัสสาวะแสบปัสสาวะบ่อยปัสสาวะปนเลือดอั้นปัสสาวะนานๆ
ประเมิน vital Sign ทุก 4 ชั่วโมง
ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องนิ่วและการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
ให้การพยาบาลผู้ป่วยด้วยหลักเทคนิคปลอดเชื้อ
แนะนำวิธีการดูแลทำความสะอาดอวัยวะเพศอย่างถูกต้องและถูกวิธี
แนะนำเรื่องการรับประทานอาหารเช่นงดหรือลดหลั่นรับประทานอาหารจำพวกชะพลูหน่อไม้ฝรั่งยอดผักเครื่องในสัตว์ผลเชอรี่ต่างๆ
แนะนำให้ดื่มน้ำวันละ 2-3 ลิตร
เมื่อมีอาการผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ เช่นปัสสาวะมีเลือดปัสสาวะมีกลิ่นผิดปกติปัสสาวะแสบขัดให้รีบพบแพทย์ทันที
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการโดยเฉพาะค่า urine exam และค่า CBC
วัตถุประสงค์
1 .ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีดูแลตนเองและการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการเกิดนิ่วและติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะได้อย่างถูกต้อง
2 เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
3 เพื่อให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการรับประทานอาหาร
4 เพื่อให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านความสะอาดของร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่เกิดโรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะของ
2.ผู้ป่วยรับประทานอาหารตรงต่อเวลาลดหรืองดอาหารที่มีสารออกซาเลตสูง
3 ผู้ป่วยสามารถทำความสะอาดอวัยวะเพศได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 2 : ปวดเนื่องจากเป็นนิ่ว
ข้อมูลสนับสนุน : S : ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการปวดหลังเป็นเป็นหายหายปวดบริเวณตรงกลางปวดแบบร้าวเป็นครั้งคราวปวดมากเมื่อยกของหนักผู้ป่วยจึงใส่ที่พยุงหลังและมีอาการดีขึ้น
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินอาการปวด
ประเมิน vital Sign
บันทึกลักษณะอาการปวดความรุนแรงและความถี่ของการปวด
ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล
สอนการรีแลกซ์เซชั่นเพื่อบรรเทาอาการปวดเช่นการหายใจเข้าออกลึกๆช้าๆเป็นจังหวะ
ไม่เคลื่อนไหวบริเวณที่ปวด
จะสิ่งแวดล้อมให้สงบ
รายงานแพทย์ทันทีกรณีอาการปวดไม่ทุเลาลงหรือปวดรุนแรงขึ้น
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้ป่วยมีอาการปวดลดลง
2.เพื่อให้ผู้ป่วยสุขสบาย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 3 : กังวล เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยงลวกับโรคและการรักษานิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
กิจกรรมทางการพยาบาล
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติทราบถึงสาเหตุอาการและอาการแสดงของนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
แนะนำให้ผู้ป่วยและญาติสังเกตและค้นหาสาเหตุของนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยแนะนำเกี่ยวกับการตรวจเยี่ยมของแป๊ะแพทย์
4 จัดให้ผู้ป่วยมีโอกาสได้พูดคุยกับผู้ป่วยเตียงอื่นๆ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่านิ่วในทางเดินปัสสาวะสามารถกลับมาเป็นซ้ำได้อีกหากมีการดูแลป้องกันไม่ดี
ข้อมูลสนับสนุน : S: ผู้ป่วยบอกว่ากังวลเกี่ยวกับโรคกลัวว่าเป็นแล้วจะรักษาไม่หาย
วัตถุประสงค์ : สามารถอธิบายเกี่ยวกับโรคและการรักษานิ่วในทางเดินปัสสาวะได้อย่างถูกต้อง
เกณฑ์การประเมิน : คลายความกังวลลดลง
แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
แบบแผนที่3 : การขับถ่าย
ผู้ป่วยมีปัสสาวะแสบ ปัสสาวะบ่อย จากการตรวจทางห้องปฏิบัติการมี่ค่า Eosinophil สูงกว่าปกติ ค่าปกติอยู่ที่1-6 %
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 4 : เสี่ยงต่อภาวะน้ำตาลในเลือดสูง เนื่องจากขาดความารู้และมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
ข้อสนับสนุน :
S: ผู้ป่วยบอกว่าตนมีโรคประจำตัวเป็นโรคเบาหวาน มีอาการอ่อนเพลียเหงื่อออกง่ายตัวเย็นเวียนศีรษะ
O : วัด dtx เท่ากับ 180 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
วัตถุประสงค์
เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
เพื่อให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการรับประทานอาหาร
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาในการรักษาโรคเบาหวาน
เกณฑ์การประเมิน
ระดับน้ำตาลในเลือดก่อนอาหารอยู่ในช่วง 70 -110 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ผู้ป่วยรับประทานอาหารตรงต่อเวลางดอาหารหวานควบคุมปริมาณคาร์โบไฮเดรตไขมันและโซเดียม
ผู้ป่วยออกกำลังกายวันละ 30 ถึง 50 นาทีสัปดาห์ละ
3-5 วัน
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเช่นมือเท้าเย็นอ่อนเพลียวิงเวียนศีรษะปัสสาวะบ่อยหิวแม้จะเพิ่งกิน
ตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติทราบถึงสาเหตุอาการและอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเช่นการรับประทานอาหารที่มีน้ำตาลและคาร์โบไฮเดรตเป็นส่วนประกอบมากเกินไปมีอาการอ่อนเพลียหิวน้ำบ่อยรู้สึกหิวแม้จะพึ่งกิน เป็นต้น
4.แนะนำเกี่ยวกับอาหาร ควรเลือกอาหารที่มีสัดส่วนของคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมันที่เหมาะสม รับประทานอาหารเป็นเวลา
5.การอ่านฉลากโภชนาการ
แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายโดยการ กระดูกส้นเท้าปลายเท้าการยกและกางแขน ออกการแกว่งแขนเดินออกกำลังกายวันละประมาณ 30-50 นาทีสัปดาห์ละ 3 ถึง 5 วัน 7. การใช้ยาตาม แผนการรักษาของแพทย์ เช่น Metformin(500) 1 tb.tid.pc ,Insulin 4 u stat
ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดโดยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองวันละ 7 ครั้งคือก่อนและหลังอาหารเช้ากลางวันเย็นก่อนนอน
9.แนะนำให้มาพบ แพทย์ตามนัดทุกครั้ง
DM type 2, hypertension,thyroid goiter
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 5 : ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงและโรคไทรอยด์