Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสื่อสารด้วยภาษาไทย - Coggle Diagram
การสื่อสารด้วยภาษาไทย
การอกเสียงคำ
การออกเสียงพยางค์ท้ายคำ
การออกเสียงคำสมาส
การออกเสียงสระอะตรงท้ายตัวสะกด
การออกเสียงสระแต่ละพยางค์
การออกเสียงคำอย่างอักษรนำ
การสะกดคำ
การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต
๖.พยัญชนะสะกดซึ่งเป็นพยัญชนะควบกับร ใช้เป็นตัวการันต์ได้เพราะไม่ใช่ตัวสะกด
๓.พยัญชนะที่เป็นตัวการันต์ส่วนมากอยู่ท้ายคำ
๕.พยัญชนะสะกดซึ่งเป็นพยัญชนะควบกับร ใช้พยัญชนะตัวตามเป็นตัวการันต์ไม่ได้
๑.พยัญชนะที่เป็นตัวการันต์
๔.พยัญชนะที่เป็นตัวการันต์อาจมีรูปสระกำกับได้
๒.มักใช้กับคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตและอังกฤษ
คำยืมและคำทับศัพท์
การยืม
ช่วยให้ภาษาไทยมีคำใช้มากขึ้น
สะดวกในการสื่อความหมายกันและทำให้ภาษาเจริญงอกงามขึ้น
คำทับศัพท์
คือการที่ไม่ต้องเปลี่ยนคำอะไรเลยรับมาโดยตรงกับเสียงเดิม
คำพ้องเสียง
คำที่อ่านออกเสียงเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันแต่เขียนสะกดไม่เหมือนกัน
และมีความหมายต่างกัน
การสะกดคำ
การใช้พยัญชนะ
การแบ่งพยัญชนะ
-พยัญชนะเดิม
-พยัญชนะกลาง
ประโยชน์จากการแบ่งพยัญชนะ
การใช้พยัญชนะต้น
การใช้พยัญชนะสะกด
คำที่ประวิสรรชนีย์
คำที่ประวิสรรชนีย์
คำไม่ประวิสรรชนีย์
การออกเสียงคำ
การออกเสียงสระ
ออกเสียงสระเสียงยาวเป็นสระเสียงสั้นเมื่อเป็นคำที่ไม่เน้นส่วนมากอยู่ระหว่างประโยค
ออกเสียงสระเสียงยาวถึงแม้เป็นสระเสียงสั้นเมื่อเป็นคำที่ทำหน้าที่สำคัญ
การออกเสียงวรรณยุกต์
ระดับเสียงค่อนข้างคงที่ตลอดพยางค์
ระดับเสียงเปลี่ยนมากระหว่างต้นพยางค์กับท้ายพยางค์
การออกเสียงพยัญชนะ
พยัญชนะเดี่ยว
พยัญชนะควบกล้ำ