Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 เทคโนโลยีอากาศและการประยุกต์ใช้ - Coggle Diagram
บทที่ 4 เทคโนโลยีอากาศและการประยุกต์ใช้
ยานอวกาศ(spacecraft)
1.ยานอวกาศอพอลโล สำรวจดวงจันทร์
2.ยานอวกาศคิวริออสซิตี สำรวจดาวอังคาร
3.ยานอวกาศจูโน สำรวจดาวพฤหัสบดี
4.ยานอวกาศแคสสินี-ฮอยเกนส์ สำรวจดาวเสาร์
5.ยานอวกาศนิวฮอไรชัน สำรวจดาวเคราะห์แคระพลูโต
ดาวเทียม(satellite)
1.ดาวเทียมที่อยู่วงโคจรใกล้โลก(LEO) :
1.1ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาวงโคจรใกล้โลก
1.2ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ
2.ดาวเทียมวงโคจรระดับกลาง(MEO)
2.1ดาวเทียมระบบจีพีเอส
3.ดาวเทียมวงจรค้างฟ้า(GEO)
3.1ดาวเทียมสื่อสาร
3.2ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาวงโคจรค้างฟ้า
สถานีอวกาศ
เป็นห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ในสภาพไร้น้ำหมักที่โคจรรอบโลกสถานีอวกาศที่ใหญ่ที่สุดก็คือ อยู่ที่ความสูง 400 กิโลเมตร โดยความร่วมมือของสหรัฐอเมริกายุโรปญี่ปุ่นแคนาดาและรัสเซีย
จรวด(rocket)
กิโลเมตรต่อวินาทีเรียกว่าความเร็วหลุดพ้น
จรวด(rocket)เป็นเครื่องยนต์ที่มีพลังขับดันสูงมากใช้ในการขนส่งดาวเทียมและยานอวกาศออกนอกโลก
ระบบขนส่งอวกาศประกอบด้วย 3 ส่วน
1.จรวดเชื้อเพลิงแข็ง
2.ถังเชื้อเพลิงภายนอก
3.ยานขนส่งอวกาศ
กล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ศึกษาวัตถุในท้องฟ้า
1.กล้องโทรทรรศน์ช่วงคลื่นแสงที่มองไม่เห็น 1.1กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง(refractors)
1.2กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง(reflctors)
2.กล้องโทรทรรศน์ช่วงคลื่นวิทยุ เป็นคลื่นโทรทรรศน์ที่ใช้ตรวจจับแม่เหล็กไฟฟ้าตรวจจับวัตถุในอวกาศเช่น ซูเปอร์โนวา
หลุมดำและกาแล็กซี
3.กล้องโทรทรรศน์ช่วงคลื่นอินฟราเรด : กล้องโทรทรรศน์อินฟราเรดมีคุณสมบัติในการตรวจจับวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำ เช่น ดาวเคราะห์ ฝุ่น แก๊ส น้ำแข็ง แต่เนื่องจากโลกมีความอบอุ่นและแผ่รังสีอินฟราเรด ดังนั้นนักวิทยาศาสตร์จำเป็นต้องส่งกล้องโทรทรรศน์รังสีอินฟราเรดสปิทเซอร์ (SST) ขึ้นไปโคจรรอบดวงอาทิตย์โดยมีระยะห่างจากโลก 0.1 AU (15 ล้านกิโลเมตร) SST ติดตั้งเกราะขนาดใหญ่เพื่อกำบังรังสีอินฟราเรดที่แผ่ออกมาจากดวงอาทิตย์
4.กล้องโทรทรรศน์รังสีอัลตราไวโอเล็ต : เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศซึ่งทำงานในช่วงความยาวคลื่นของรังสีอัลตราไวโอเล็ตไกลระหว่าง 90.5 - 119.5 นาโนเมตร ซึ่งมีวงโคจรอยู่ที่ระยะสูง 760 กิโลเมตร โคจรรอบโลกใช้เวลาไม่ถึง 100 ชั่วโมง นักดาราศาสตร์ใช้ FUSE ในการศึกษาดิวทีเรียมซึ่งเป็นหลักฐานของทฤษฎีบิกแบง และองค์ประกอบทางเคมีของกาแล็กซี
การประยุกต์ใช้
ด้านวัสดุศาสตร์
1.เลนส์แว่นตาจากคาร์บอนแข็งแรงพิเศษ (scratch resistant lenses)
2.แอโรเจล (aerogel)
3.โฟมนี่มชนิดพิเศษ (temper toam)
4.เซลล์สุริยะ (solar cells)
ด้านอาหาร
เทคโนโลยีการทำอาหารแห้งแบบสูญญากาศ (Freeze dried Technology)
อาหารเสริมสำหรับเด็ก enriched baby food
ด้านการแพทย์และสุขภาพ
เครื่องวัดอุณหภูมิทางหู Infrared Ear Thermometer
เครื่องปั๊มหัวใจเทียมขนาดเล็กพิเศษ artificial heart pump
เครื่องวัดรังสีอัลตราไวโอเลต UV trecker
กล้องดิจิทัล digital camera
เซนเซฮร์พิกเซลตอบสนอง Active pixel sensor