Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชายไทยอายุ 46 ปี - Coggle Diagram
ชายไทยอายุ 46 ปี
Upper Gastrointestinal Bleeding
สาเหตุ
ซื้อยาแก้ปวดมารับประทานเอง
ยาแก้ปวดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะยากลุ่ม NSAIDs ทำให้เกิดการระคายเคืองกระเพาะอาหาร
ยับยั้ง cox-1 ที่กระเพาะอาหาร
ทำให้มีการสร้าง Protaglandin ลดลง
มีการหลั่งกรด และgastrin มากขึ้น
ผนังกระเพาะอาหารถูกทำลาย
เกิดแผลและทำให้เกิดเลือดออก
สูบบุหรี่ 6-7 มวนต่อวัน (มีสาร Nicotin)
ยับยั้งการสร้าง Prostaglandin ในเยื่อบุกระเพาะอาหาร
มีการหลั่งกรด แลgastrin มากขึ้น
เยื่อบุกระเพาะอาหารถูกทำลาย
เกิดแผล Peptic ulcer
มีเลือดออกในกระเพาะอาหาร
ในทางตรงกันข้าม
ยับยั้งการหลั่งกรดที่ช่วยย่อยอาหาร
ทำให้อาหารไม่ย่อย
เกิดอาการแน่นท้อง ท้องอืด
ดื่ม Alcohol มา 20 ปี (มีสาร Ethanol)
**ผลต่อกระเพาะอาหาร
กระตุ้นการหลั่ง Histamine
ทำให้ panetal cell ถูกกระตุ้น
ทำให้มีการหลั่งกรดมาก
กรดระคายเคืองกระเพาะอาหาร
เยื่อบุกระเพาะอาหารถูกทำลาย
1 more item...
**ผลต่อตับ
ยับยั้งกระบวนการสลายกรดไขมันและยับยั้งกระบวนการ B-oxidation
ไขมันไม่สลายเป็นพลังงาน
ไขมันถูกเก็บสะสมมากขึ้น
เกิดเป็น fatty liver
ทำให้ hepatocytes ทำงานได้ไม่ดี
1 more item...
อาการ
1.อาเจียนเป็นเลือดสด
2.ปวดท้อง
3.อ่อนเพลีย
4.ซีดเล็กน้อย
การตรวจวินิจฉัย
มีประวัติการใช้ยาไม่เหมาะสม มีการซื้อยามารับประทานเอง
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบ Hb,Hct ต่ำ และมี Enzyme ตับสูง (Cirrhosis)
1.มีประวัติเป็นแผลในกระเพาะอาหาร
ส่องกล้องตรวจทางเดินอาหารส่วนต้น เพื่อตรวจหาความผิดปกติของกระเพาะอาหาร หลอดอาหาร และลำไส้เล็กส่วนต้น
การรักษา
NPO
NG lavage การล้างกระเพาะอาหาร
การทำ EVLการรักษาโดยใช้ยางรัดหรือ rubber band ไปผูกมัดตำแหน่งที่มีเลือดออกเพื่อห้ามเลือด
ให้ยารักษาแผลในกระเพาะอาหารตามแผนการรักษา
Pentoprazole เพื่อรักษาแผลในกระเพาะอาหาร
Octreotide เพื่อรักษาภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
Cefazolin เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
Losec (Omeprazole) เพื่อรักษาแผลในกระเพาะอาหาร
การส่องกล้องตรวจทางเดินอาหาร หรือ Esophagogastroduodenoscopy : EGD ตรวจดูพยาธิสภาพตั้งแต่ช่องปาก โคนลิ้น หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กส่วนต้น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อก เนื่องจากเสียเลือดทางเดินอาหารส่วนบน
มีโอกาสได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากตัวนำออกซิเจนลดลง
พักผ่อนไม่เพียงพอ เนื่องจากปวดข้อเท้าขวา แน่นท้อง
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้ม เนื่องจากมีอาการอ่อนเพลีย
เสี่ยงต่อภาวะร่างกายได้รับสารน้ำไม่เพียงพอ เนื่องจากผู้ป่วยงดน้ำงดอาหาร
Proximal tibiofibular dislocation Rt.leg
อาการ
ปวด pain score 10
การเคลื่อนไหวข้อ (ROM) Motor power grande III
ข้อเท้าขวาบวมแดง
สาเหตุ
ได้รับอุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต์
การตรวจวินิจฉัย
X-ray Anterior-Posterior (AP) and lateral view of the right ankle คือ การตรวจหาความผิดปกติบริเวณข้อเท้าขวาด้วยรังสี X ด้วยภาพจากด้านหน้าไปด้านหลัง และภาพด้านข้างของกระดูกข้อเท้า พบว่ามีการเคลื่อนของข้อต่อทิบิโอฟิบูลาร์ด้านบนที่ตำแหน่งขาขวา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สุขสบาย เนื่องจากอาการปวดที่ข้อเท้าด้านขวา
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ลดลง เนื่องจากอ่อนเพลียและบาดเจ็บบริเวณข้อเท้าขวา
มีโอกาสเกิดการบีบรัดของเฝือก เนื่องจากมีการบวมของเนื้อเยื่อที่ได้รับบาดเจ็บที่ขา
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้ม เนื่องจากมีอาการอ่อนเพลีย
พักผ่อนไม่เพียงพอ เนื่องจากปวดข้อเท้าขวา แน่นท้อง
การรักษา
ใส่เฝือกหุ้มข้อเท้าขวา เพื่อช่วยพยุงกระดูกและกล้ามเนื้อที่ได้รับบาดเจ็บ
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา เพื่อบรรเทาอาการปวด
Pethidine เพื่อบรรเทาอาการปวดรุนแรง
Paracetamol เพื่อบรรเทาอาการปวด