Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง, ในกฎหมายได้ให้คำจำกัดความของของเสียไว้สองชนิ…
-
ในกฎหมายได้ให้คำจำกัดความของของเสียไว้สองชนิดคือสิ่งปฏิกูลหมายความว่าอุจจาระหรือเป๋าสวและหมายความรวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกและมีกินเหม็นเว้นมูลฝอยหมายความว่าเศษกระดาษเศษผ้าเศษอาหารเศษสินค้าถุงพลาสติกภาชนะใส่อาหารมูลสัตว์หรือซากสัตว์รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บมาจากถนนตลาดที่สัตว์เลี้ยงหรือสิ่งอื่นกฎหมายแบ่งออกเป็น 16 หมวดดังนี้
3.3 กำจัดสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอยให้เป็นอำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่นนั้นในการออกข้อกำหนดของท้องถิ่นเพื่อการเก็บขนและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย
3.1 บททั่วไปให้รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขมีอำนาจการจัดการออกกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพของประชาชนและมีวิธีการเพื่อตรวจสอบควบคุมและแก้ไข
3.2 คณะกรรมการสาธารณสุขให้ตั้งคณะกรรมการสาธารณสุขโดยมีปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการและกรรมการอีก 17 คนประกอบด้วยอธิบดีกรมอนามัยและกรมอื่นๆที่เกี่ยวข้องรวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิทั้งจากภาคเอกชนเพื่อให้มีหน้าที่เสนอคำแนะนำต่อรัฐมนตรี
3.4 สุขลักษณะของอาคารเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมีอำนาจสั่งให้แก้ไขอาคารที่มีสภาพชำรุดสุดโทรมหรือมีสภาพรกรุงรังไม่ถูกสุขลักษณะ หรือมีคนอยู่มากเกินไปจนอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
3.5 เหตุรำคาญเหตุอันก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อาศัยในบริเวณใกล้เคียงหรือผู้ที่ต้องประสบกับเหตุนั้นเช่นการกระทำใดใดอันเป็นเหตุที่ทำให้เกิดกลิ่นแสงรังสีความร้อนสิ่งมีพิษความสันสะเทือนฝุ่นละอองเขม่าเท่าหรือกรณีอื่นใดจนเป็นเหตุให้เสื่อมหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพซึ่งเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมีอำนาจออกคำสั่งเพื่อระงับกำจัดและควบคุมเหตุรำคาญได้
3.6 การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ราชการท้องถิ่นอาจกำหนดให้เป็นเขตห้ามเลี้ยงสัตว์หรือปล่อยสัตว์เพื่อป้องกันอันตรายจากการติดโรค 3.7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพรัฐมนตรีสาธารณสุขมีอำนาจกำหนดให้กิจการใดเป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพจะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นก่อนดำเนินการในลักษณะที่เป็นการค้า
3.8 ตลาดร้านขายอาหารและสถานที่สะสมอาหารต้องได้รับอนุญาตหรือแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นก่อน 3.9 การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่นและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ต่างๆ
- 10 อำนาจของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสาธารณสุขให้สามารถเข้าตรวจสอบยึดหรืออายัดสิ่งของที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยออกคำสั่งให้แก้ไขปรับปรุงหรือหยุดการดำเนินการได้
-
-
-
-
3.15 บทกำหนดโทษผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 500 ถึง 10,000 บาทหรือถูกจำคุกตั้งแต่หนึ่งถึงหกเดือนหรือทั้งจำทั้งปรับ
-
พระราชบัญญัติวัตถุอันตรายพ.ศ. 2535 พระราชบัญญัตินี้ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติเก่าที่ใช้มาตั้งแต่พ.ศ. 2510 และพ.ศ. 2516 ทั้งยังให้มีความหมายว่าว่าเธออันตรายความหมายว่าวัตถุดังต่อไปนี้
หนึ่งวัตถุระเบิดได้สองวัตถุไวไฟสามวัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์อ๊อกไซด์สี่วัตถุมีพิษห้าวัตถุที่ทำให้เกิดโรคหกวัตถุกลับมากัมมันต์ตารางสีเจ็ดวัตถุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมวัตถุกัดกร่อนวัตถุที่ทำให้เกิดการระคายเคือง 10 วัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใดที่ทำให้เกิดอันตรายต่อบุคคลสัตว์พืชซับหรือสิ่งแวดล้อมและ
หน้าที่และขั้นตอนการอนุรักษ์พลังงานของอาคารควบคุมมาตราเก้าได้กำหนดหน้าที่ให้เจ้าของโรงงานควบคุมต้องดำเนินการไว้ชัดเจนคือต้องอนุรักษ์พลังงานตรวจสอบและวิเคราะห์การใช้พลังงานในโรงงานของตนให้เป็นไปตามมาตรฐาน
7.2 กฎหมายอนุรักษ์พลังงานโดยกฎหมายอนุรักษ์พลังงานมีชื่อเต็มว่าพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานพ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจ์จาหนูเบกษาเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2535 และมีผลบังคับใช้ในวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจ์จาหนูเบกษาเป็นต้นไป
1.กำกับดูแลส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ที่อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมาย (อาคารควบคุมและโรงงานควบคุม) มีการอนุรักษ์พลังงานด้วยการผลิตและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด
- ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการผลิตเครื่องจักรอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพและวัสดุที่ใช้ในการอนุรักษ์พลังงานขึ้นภายในประเทศและมีการใช้อย่างแพร่หลาย
- ส่งเสริมและสนับสนุนให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นรูปธรรมด้วยการจัดตั้งกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานเพื่อใช้เป็นกลไกในการให้อุดหนุนช่วยเหลือทางการเงินในการอนุรักษ์พลังงาน
-
-
7.3 การอนุรักษ์พลังงานการอนุรักษ์พลังงานคือการผลิตการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดการอนุรักษ์พลังงานนอกจากจะช่วยลดปริมาณการใช้พลังงานซึ่งเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในกิจการแล้วยังช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากแหล่งที่ใช้และผลิตพลังงานด้วยการสร้างนโยบายด้านพลังงานของรัฐบาลเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า
แนวทางการอนุรักษ์พลังงาน
การใช้พลังงานอย่างประหยัดและคุ้มค่าโดยการสร้างค่านิยมและจิตใต้สำนึกการใช้พลังงานการใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่าจะต้องมีการวางแผนและควบคุมการใช้อย่างเต็มประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดมีการลดการสูญเสียพลังงานทุกขั้นตอนมีการตรวจสอบและดูแลการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าตลอดเวลาเพื่อลดการรั่วไหลของพลังงานเป็นต้น
-