Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Urinary system - Coggle Diagram
Urinary system
Physiology of Renal System
สรีรวิทยาของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
(Renal Physiology)
หน้าที่การทำงานของไต
การขับถ่าย (Execratory function)
การรักษาสมดุล(Homeostatic function)
การหลั่งฮอร์โมน(Endocrine (hormonal) secretory function)
การสังเคราะห์ฮอร์โมน
(Endocrine (hormonal) metabolic function)
การควบคุมการทำงานของไต(Renal autoregulation)
Tubuloglomerular feedback (TGF) MAP changes 100-200 mmHg → Constant RBF and GFR
Renal blood flow
GFR
Tubular flow
Macula densa cells(Na+sensor)
Juxtaglomerular cells
(Renin secretion)
Afferent arteriole→ Renal blood flow
การไหลเวียนเลือดของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
(Blood Supply of the Kidneys)
Abdominal aorta
Renal artery
Afferent arteriole
Glomerulus
(Capillaries)
Efferent arteriole
Renal vein
Peritubular capillaries and Vasa recta → Renal vein
หน่วยไต
(Nephron)
หน่วยการทำงานของไต คือ หน่วยไต (Nephron)
การทำงานของหน่วยไต
(Function of Nephron)
ลำดับการทำงานของหน่วยไต
การกรอง (Filtration)
การดูดกลับ(Reabsorption)
การหลั่ง (Secretion)
การขับถ่าย (Excretion)
การกรอง (Filtration) Glomerular ultrafiltration
Renal blood flow
Glomerular filtration
Filtration barrier
Flow to Proximal tubule
Fluid: Glomerular filtrate
คุณสมบัติของสารที่จะผ่านGlomerular Filtration Barrier
สารที่มีประจุบวก
สารที่มีขนาดเล็ก น้อยกว่าหรือเท่ากับ70 kDa
Podocyteเซลล์เยื่อบุผิวเฉพาะที่ปกคลุมพื้นผิวด้านนอกของเส้นเลือดฝอย
Glycocalyx มีประจุเป็นลบ
Fenestrae รูระหว่างเซลล์เล็กๆ(4-14 nm)
Endothelium เป็น Basement ทำให้สารบางชนิดที่มีขนาดน้อยกว่า1 kD หลุดออกจากท่อ
Net filtration pressure (NFP) = Force inducing filtration – Force opposing filtration
NFP = (PGC + πBC) - (πGC + PBC)
อัตราการกรองของไต (Glomerular filtration rate, GFR) ≈ 125 ml/min(180 liters/day)
GFR = Kf(PGC - πGC – PBC )
GFR เป็นพารามิเตอร์ที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพในการทำงานของไต
Kf= Filtration coefficient
GFR อัตราการกรองของสาร → Clearance การขับสารทิ้ง
U = concentration in urine (ความเข้มข้นของสาร x ในปัสสาวะ)
V = volume of urine/min (ปริมาณของปัสสาวะต่อนาที)
P = concentration in plasma (ความเข้มข้นของสาร x เลือด)
การขับสารทิ้ง (Clearance of substance) → Glomerular filtrate and Tubular transport
Only filtration
Filtrationload= Excretionrate
Tubular reabsorption
Filtrationload> Excretionrate
Total tubular reabsorption
Clearance = 0 / No filtration
Tubular secretion
Filtration load < Excretion rate
การดูดกลับ(Reabsorption) และ การหลั่ง (Secretion)
ท่อไต
(Tubules)
Proximal tubule
การดูดกลับ>>Glucose, Amino acids, Protein, Vitamins, Lactate, Urea, Uricacid, Na+, K+,Ca2+, Mg2+,Cl-,HCO3-,H2O
การหลั่ง >>Urea, Uric acid Cr, H+NH4
+, Some drugs
Thin descending limb
การดูดกลับ>>H2O
Loop of Henle
การหลั่ง>>Urea
Thick Ascending limb
Na+,K+,Cl-
Distal tubule
Na+,Cl-, HCO3-,H2O
การหลั่ง>> H+, K+,NH4+
Collecting duct
การดูดกลับ>>H2O, Urea
การขับถ่าย (Excretion)
ปริมาณปัสสาวะ↓→ ความเข้มข้นปัสสาวะ↑
ปริมาณปัสสาวะ↑→ ความเข้มข้นปัสสาวะ↓
การปัสสาวะ (Micturition)
1.Bladder fills
2.first sensation to urinate
3.typical desire to urinate
4.Bladder contracts
ท่อไต
(Renal Tubules)
ลำดับการทำงานของท่อไต
Glomerulus
Proximal tubule
Thin descending limb
Loop of Henle
Thick Ascending limb
Distal tubule
1 more item...
การควบคุมการทำงานของระบบขับถ่ายปัสสาวะ(Renal Regulation)
Indirect sympathetic effects
Systemic hemodynamic change → Heart
Renal hemodynamic change→ kidney
Direct sympathetic effects
kidney
ไตและการควบคุมน้ำ(Regulation of water balance by the kidney)
Total body water(TBW)60%
Extracellular fluid(ECF) 20%
Intracellular fluid(ICF) 40%
ไตและอิเล็กโทรไลต์
(Regulation of fluid and electrolyte balance by the kidney)
อิเล็กโทรไลด์หลักที่ไตควบคุมคือ โพแทสเซียมกับโซเดียม ถ้าโพแทสเซียมในร่างกายสูงขึ้นและโซเดียมในร่างกายลดลง มันจะไปกระตุ้นให้ต่อมหมวกไตหลั่ง Aldosteroneออกมา และAldosteroneจะไปกระตุ้นของหน่วยไตลดของโพแทสเซียม และเพิ่มreabsorbrd ของโซเดียม ผลสุดท้ายจะทำให้ค่าของโซเดียวและโฑแทสเซียมปกติ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ
ไต (Kidneys)
มี 2 ข้าง คล้ายเมล็ดถั่ว วางตัวอยู่ด้านหลังของเยื่อบุช่องท้อง(Retroperitoneum)เหนือเอวเล็กน้อย
ผิวหนังของไตถูกคลุมด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น >> Renal corpuscle ,perinephric fat ,Renal fescia
โครงสร้างของไต
Renal Cortex มีสีน้ำตาลแดง มีส่วนแทรกเข้าไปในpyramid
Renal medulla พบ renal pyramid 6-12อัน
Uriniferous tubule
Nephrons
ทำหน้าที่ในการสร้างน้ำปัสสาวะ และส่งผ่านเข้ากรวยไต
Renal corpuscle เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการกรอง (Filtering unit) อยู่ในเนื้อไตส่วน cortex ประกอบด้วย Bowman’s capsule ,Glomerulus
Bowman’s capsule ทำหน้าที่รองรับ glomerulus และของเสียที่กรองได้
Glomerulus กลุ่มของเส้นเลือดฝอย
Renal tubules
หลอดไตส่วนต้น (Proximal convoluted tubule : PCT)
ดูดซึมน้ำกลับจากเลือดที่กรองผ่านจากโกลเมอรูลัส และสารอื่น สามารถขับสารออกจากหลอดไต
หลอดไตส่วนปลาย (Distal convoluted tubule : DCT)
สามารถดูดซึมน้ำกลับได้ประมาณ 10 เปอร์เซ็น สามารถดูดซึมอีออนและคลอไรด์อิออนกลับได้บ้าง
ห่วงหลอดไต (Loop of Henle: ท่อขาลง, ท่อขาขึ้น)
สามารถดูดซึมอีออนโพแทสเซียมและคลอไรด์อิออนกลับ
Collecting tubules
หลอดไตรวม (Collecting duct)
ทำให้น้ำปัสสาวะเข้มข้น ภายใต้การควบคุมของ Antidiuretic hormone (ADH)
หลอดไต หรือท่อไต (Ureters)
ทำหน้าที่นำปัสสาวะจากกรวยไตไปเก็บในกระเพาะปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder)
ทำหน้าที่กักเก็บน้ำปัสสาวะ
หลอดปัสสาวะ หรือท่อปัสสาวะ(Urethra)
ท่อปัสสาวะชาย (Male urethra)
เป็นทางผ่านของน้ำปัสสาวะและอสุจิ
ท่อปัสสาวะเพศหญิง (Female urethra)
ตั้งอยู่หลัง symphysis pubis และติดกับผนังด้านหน้าของช่องคลอด (vagina)
เส้นประสาทที่มาเลี้ยง ureter, urinary bladder
และ internal urethral sphincter
Parasympathetic fibers ทำให้กล้ามเนื้อเรียบของ ureter และ urinary bladder หดตัว และกล้ามเนื้อ internal urethral sphincter คลายตัว
Sympathetic fibers ให้ผลตรงข้ามกับ Parasympathetic fibers
หน้าที่สำคัญของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
รักษษสมดุลของน้ำ สารพวกเกลือแร่ต่างๆ
2.เลือกสารขับถ่ายที่เป็นพิษต่างๆออกไป
3.ควบคุมสมดุลกรด-ด่างในร่างกาย
4.สร้างฮอร์โมน renin,erythropoetinและ calcitriol
เส้นประสาทที่มาไต (Nerve supply)
Renal sympathetic plexus.
Sympathetic fibers from T10-L2 (hypogastric plexus)
Parasympathetic fibers from S2-4 (pelvic splanchnic nerve)
โครงสร้าง Juxtaglomerular apparatus (JGA)
1.ควบคุมเลือดที่เข้ามาที่ไต (renal blood flow, RBF)
2.ควบคุมอัตราการกรอง(glomerular fitrationrate, GFR)
เส้นเลือดที่มาไต (Blood supply)
เป็น renal artery ทั้งข้างซ้ายและขวาที่แตกแขนงมาจาก abdominalaorta