Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Endocrine System - Coggle Diagram
Endocrine System
บทนำระบบต่อมไร้ท่อ
(Introduction to Endocrinology)
ระบบที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและควบคุมกระบวนการทำงานต่างๆที่สำคัญภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตซึ่งเป็นระบบที่ทำงานสอดประสานร่วมกับระบบประสาทโดยอาศัย
การสื่อสารกันระหว่างเซลล์(Cell to cell communication)
สารเคมีที่ร่างกายสร้างขึ้นมา เรียกว่า “ฮอร์โมน (Hormones)”
บทบาทหน้าที่
•ควบคุมการทำงานของระบบต่างๆในร่างกาย
•ควบคุมการเจริญเติบโต, เมทาบอลิซึม, และการพัฒนาของเซลล์
•ควบคุมสมดุลของสารน้ำ,เกลือแร่,และอิเล็กทรอไลท์ต่างๆ
•ควบคุมการทำงานของระบบสืบพันธุ์ทั้งในภาวะปกติ,
ตั้งครรภ์, และหลังคลอด
การสังเคราะห์ฮอร์โมน (Hormone synthesis)
ชนิดของฮอร์โมน (Hormone classes)
โปรตีน (Peptides and Protein (P&P))
สเตียรอยด์(Steroids (S))
เอมีน (Amines (A))
• แคททีโคลามีน (Catecholamines (C))
• ไทรอยด์(Thyroid (Iodothyronines) (T))
คุณสมบัติทางสรีรวิทยาของฮอร์โมน (Hormone physiology features)
การสังเคราะห์ (Synthesis)
P&P, A→สังเคราะห์ขึ้นมาและเก็บไว้
S→สังเคราะห์และหลั่งตามความต้องการ
การขนส่ง (Transport)
P&P, C→ขนส่งโดยอิสระไปตามการไหลเวียนเลือด
S, T→ขนส่งไปโดยการจับกับโปรตีนตัวน า (Carrier proteins)
การจับกับตัวรับ (Receptor binding)
P&P, C→จับกับตัวรับบนผิวเซลล์ (Cell membrane receptors)
S, T→จับกับตัวรับที่อยู่ภายในเซลล์(Intracellular receptors)
การตอบสนอง (Effects)
P&P, C→การเปลี่ยนแปลงโปรตีน (Protein modification)
P&P, S, T→การสังเคราะห์โปรตีน (Protein synthesis)
เอมีนฮอร์โมน (Amine Hormones)
• เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกรดอะมิโน
(Modification of amino acids)
• องค์ประกอบหลัก
กรดอะมิโน Tryptophan หรือ Tyrosine
สเตียรอยด์ฮอร์โมน (Steroid Hormones)
• เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของไขมันชนิดคอเลสเตอรอล
(Modification of lipid cholesterol)
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนต่อมใต้สมอง
(Pituitary hormones and their control by Hypothalamus)
ฮอร์โมนต่อมใต้สมองจาก Pituitary Gland และ Hypothalamus
• ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) หรือ Hypophysisจัดเป็ นส่วนหนึ่งของ Diencephalon
•มีลักษณะเป็นต่อมรูปไข่สีน้ำตาลแดง
Protein hormone
หน้าที่
กระตุ้นกระบวนการต่างๆที่ส่งผลในการเพิ่มการเจริญเติบโตของเซลล์
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
เซลล์ไขมัน, กระดูก,กล้ามเนื้อ,ประสาท,ภูมิคุ้มกัน,และตับ
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์(Thyroid-stimulating hormone, TSH/ Thyrotropin)
Glycoprotein hormone
หน้าที่
กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุมการทำงานของต่อมไทรอยด์
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
ต่อมไทรอยด์
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมหมวกไต(Adrenocorticotropic hormone , ACTH/ Corticotropin)
Peptide hormone
หน้าที่
กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุมการทำงานของต่อมหมวกไต
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
ต่อมหมวกไตชั้นนอก(Adrenal cortex)
ฮอร์โมนเพศ (Follicle-Stimulating hormone, FSH และ Luteinizing hormone, LH)
Glycoprotein hormone
หน้าที่
เพศชาย
• กระตุ้นการเจริญของอสุจิภายในอัณฑะ ท าให้มีการ
สร้างอสุจิ
เพศหญิง
•กระตุ้นการเจริญของไข่ในรังไข่ ทำให้มีการพัฒนาไข่ให้สมบูรณ์
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
เพศชาย
• Sertoli cells →Spermatogenesis
เพศหญิง
• Follicle →Follicular growth
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมน้ำนม(Prolactin, PRL)
Peptide hormone
หน้าที่
กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุมการทำงานของต่อมน้ำนม เพื่อให้มีการสร้างน้ำนม(Lactation)
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
ต่อมน้ำนม (Mammary glands)
ฮอร์โมนกระตุ้นเซลล์เม็ดสี(Melanocyte-stimulating hormone, MSH)
Peptide hormone
หน้าที่
กระตุ้นการการสร้างเม็ดสีเมลานินบนผิวหนัง(Melanogenesis)
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
เซลล์เมลาโนไซต์
(Melanocytes)
ฮอร์โมนออกซิโทซิน (Oxytocin)
Peptide hormone
หน้าที่
มีผลโดยตรงที่กล้ามเนื้อเรียบของมดลูกและเต้านม โดยกระตุ้นการหลั่งน้ำนม,กระตุ้นการคลอด
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
กล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อรอบๆของต่อมน้ำนม
ฮอร์โมนควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
(Antidiuretic Hormone ,ADH)
Peptide hormone
หน้าที่
กระตุ้นการดูดน้ำกลับ เพื่อรักษาสมดุลของน้ำ
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
ท่อไตรวม(Collecting duct)
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
Amine hormone
1.ThyroxinหรือTetra-iodothyronine (T4)
2.Tri-iodothyronine (T3)
หน้าที่
•ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
•ควบคุมอัตราการเผาผลาญสารอาหารต่างๆในร่างกาย(Basal metabolic rate)
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
Heart, GI tract, Brain, Bone, Muscle
Peptide hormone
หน้าที่
• ลดระดับแคลเซียมในเลือด
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
Parathyroid glands, Kidneys, Bone, GI tract
ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland)
Peptide hormone
หน้าที่
• เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
Kidneys, Bone, GI tract
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนไทโมซิน
(Thymosin hormones)
ต่อมไทมัส (Thymus gland)
•ต่อมอยู่ระหว่างกระดูกหน้าอกกับหลอดเลือดAorta
•วางตัวอยู่ด้านหน้าและปกคลุมอยู่ทางด้านบนของหัวใจ
• ประกอบด้วย 2 lobes คือ Right lobe และ Left lobe
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนต่อมหมวกไต
(Adrenocortical hormones)
ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
ตั้งอยู่ที่ด้านบนของไตทั้ง 2 ข้างจึงเรียกว่าต่อมหมวกไต
กลุ่มอาการคุชชิ่ง (Cushing's syndrome)
สาเหตุ
มักเกิดจากการมีเนื้องอกที่ต่อมใต้สมองทำให้มีการสร้าง ACTH ไปกระตุ้น Adrenal cortex อย่างต่อเนื่อง
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนเมลาโทนิน
(Melatonin hormone)
เมลาโทนิน(Melatonin)มักจะหลั่งในช่วงเวลากลางคืนเนื่องจากไม่มีแสงสว่างและหลังมากที่สุดในช่วงเวลา22.00-02.00น.
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนตับอ่อน
(Pancreatic hormones)
ตับอ่อน (Pancreas)
โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus, DM)
Type I Diabetes Mellitus
•ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้
•มักพบในเด็กหรือผู้ที่มีอายุน้อยกว่า30ปี
•ต้องรักษาโดยการฉีดอินซูลิน
Type II Diabetes Mellitus
•ตับอ่อนสามารถสร้างอินซูลินได้แต่มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน
• พบในทุกวัยและมักมีภาวะอ้วนร่วมเกิดจากพฤติกรรม)
Gestational and other DM
•มีภาวะขาดหรือดื้อต่ออินซูลิน
•เกิดภาวะHyperglycemia ในหญิงตั้งครรภ์และผู้ที่มีอาการป่วยที่ส่งผลกระทบต่อตับอ่อน