Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ส่วนการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) - Coggle Diagram
ส่วนการจัดการองค์ความรู้
(Knowledge Management)
องค์ความรู้
ในส่วนของระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้น จะเกิดขึ้นกับผู้บริหารขององค์กรทุก องค์กร ที่จะต้องมีการตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น หรือตัดสินใจวางแผนการดําเนินงานทางธุรกิจ เพื่อให้สามารถดําเนินการไปได้ด้วยดี ซึ่งต้องอาศัยทั้งความรู้ ประกอบกับประสบการณ์ ของผู้บริหาร ที่จะใช้ในการวิเคราะห์ทางเลือกต่างๆ เพื่อประกอบการตัดสินใจต่างๆ
ส่วนการจัดการองค์ความรู้
เป็นส่วนหนึ่งที่ต้องมีในระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เพราะการที่ชอฟต์แวร์สนับสนุนการตัดสินใจต่างๆ จะสามารถช่วยสร้างทางเลือกต่างๆ หรือทางเลือกที่ดีที่สุดโดยนอกจากจะอาศัยข้อมูลเบื้องต้นจากผู้ตัดสินใจแล้ว ยังจะต้องอาศัยข้อมูลซึ่งรวบรวมมาจากความรู้และประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญต่างๆ มากมายอีกด้วย
องค์ความรู้ (Knowledge)
การนำข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงไปประมวลผลแล้วเกิดเป็นสารสนเทศและสามารถนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหาหรือใช้ในการตัดสินใจ โดยนำสารสนเทศมาสั่งสมไว้เป็นประสบการณ์จึงเกิดเป็นองค์ความรู้
ชนิดขององค์ความรู้ (Types of Knowledge)
จำแนกโดยแบ่งเป็น
3.จำแนกตามประโยชน์ที่ให้ใช้งานขององค์ความรู้
องค์ความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติ (Knowledge of mathod)
องค์ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือ
องค์ความรู้เชิงสถิต (Static Knowledge)
องค์ความรู้เชิงกล (Dynamic Knowledge)
องค์ความรู้เชิงประกาศ (Declarative Knowledge)
องค์ความรู้เชิงระเบียบวิธี (Procedural Knowledge)
องค์ความรู้ฮิวริสติค (Heuristic Knowledge)
4.จำแนกตามลักษณะองค์ตวามรูู้
องค์ความรู้ที่ไม่มีโครงสร้าง (Tactic Knowledge)
องค์ความรู้ที่มีโครงสร้าง (Explicit Knowledge)
2.จำแนกตามประโยชน์ทางธุรกิจ
ฺBase Knowledge
Trivial Knowledge
จําแนกตามลักษณะที่ประกอบขึ้นเป็นระบบจัดการองค์ความรู้
Descriptive Knowledge
Procedural Knowledge
Reasoning Knowledge
Presentation Knowledge
Linguistic Knowledge
Assimilative Knowledge
ระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management System)
ระบบจัดการองค์ความรู้
เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ทําการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ในการดําเนินงานขององค์กร เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานเพื่อการ แก้ปัญหาต่างๆ ที่มักจะพบในการปฏิบัติงาน โดยผู้ใช้จะต้องส่งคําถามที่เหมาะสมเข้าไป ยังระบบ ระบบจะทําการประมวลผลและเลือกข้อมูลที่เหมาะสมสําหรับใช้ในการ แก้ปัญหาไปยังผู้ใช้ระบบจัดการองค์ความรู้จึงมีการทํางานในลักษณะการประมวลผล ร่วมกัน (Collaborative Computing)
หัวหน้าส่วนการจัดการความรู้ (Chief Knowledge officer: CKO)
คุณสมบัติ
เคยทํางานในองค์กรหรือเทคโนโลยีที่จัดการเกี่ยวกับองค์ความรู้มาก่อน เช่น งาน
ห้องสมุด หรือ Groupware
มีความสามารถแสดงให้เห็นถึงประโยชน์และความสําเร็จที่จะได้รับจากระบบ
จัดการองค์ความรู้ได้
มีประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดการองค์ความรู้อย่างลึกซึ้ง รวมถึงการสร้าง การ เผยแพร่ และการทําโปรแกรมประยุกต์เกี่ยวกับการจัดการองค์ความรู้
หน้าที่
1.วางกลยุทธ์เพื่อจัดการองค์ความรู้ให้ใช้ประโยชน์ได้สูงสุด
2.จัดเก็บองค์ความรู้ให้เหมาะสมเพื่อให้สามารถนําไปใช้ในการปฏิบัติงานให้ได้ประโยชน์สูงสุด
3.ต้องได้รับอนุมัติจากผู้บริหารระดับสูงเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมในองค์กร
4.สอนผู้ที่ต้องการหาสารสนเทศเกี่ยวกับการตั้งคําถามให้เหมาะสม
5.กําหนดกระบวนการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา
5.สามารถหาสารสนเทศเกี่ยวกับความต้องการของลูกค้าซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้งได้ทัน
เหตุการณ์
6.จัดการองค์ความรู้ได้อย่างกว้างขวาง
ความสําเร็จของการพัฒนาระบบจัดการองค์ความรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้ (The Learning Organization) หมายถึง ความสามารถขององค์กรใน การเรียนรู้ ประสบการณ์จากอดีต เพื่อนํามาใช้ในการปรับปรุงความสามารถในการดําเนินงานให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น
การจัดการ (Management) เป็นการพิจารณาว่าจะต้องทําอย่างไรให้องค์กรสามารถดําเนินงานไปได้ด้วยดี
การวัดผล (Measurement) เป็นการประเมินอัตราหรือวัดระดับการเรียนรู้
การให้ความหมาย (Meaning) เป็นการพิจารณาว่าองค์กรแห่งการเรียนรู้นั้นจะมุ่งเน้นการ เรียนรู้เรื่องอะไร
ส่งผลดีอย่างไร ?
สามารถแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ
มีการทดลองสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
มีการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านมา
มีการเรียนรู้จากการกระทําที่ดีที่สุดของผู้อื่น
มีการส่งผ่านองค์ความรู้ไปยังส่วนต่างๆ ขององค์กรได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ