Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ส่วนการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) - Coggle Diagram
ส่วนการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management)
องค์ความรู้ (Knowledge)
ส่วนจัดการองค์ความรู้เป็นส่วนประกอบหนึ่งของกระบวนการตัดสินใจ ซึ่งจะนำวิธีการ แนวทาง ข้อมูลต่างๆของการทำKM มาช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในแนวทางต่างๆได้อย่างง่ายขึ้น เพื่อความสำเร็จขององค์กร
ความสําเร็จของระบบจัดการองค์ความรู้
สาเหตุของความล้มเหลว
ไม่เห็นความสำคัญของKM ไม่ถ่ายทอดความรู้ต่างๆสู่องค์กร มองข้ามจุดเล็กน้อย หรือทำKMมากเกินไป
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ
โครงสร้างต่างๆ ระบบข้อมูล บริบทองค์กร นโยบาย
เหตุผลในการวัดความสำเร็จ
ผู้บริหารจะวัดจากการทำKM ว่าเกิดอะไรบ้างหลังจากทำ ผลประโยชน์ขององค์กร ประสิทธิภาพของบุคล แก้ไขปัญหาต่างๆ
การจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management)
กระบวนการที่จะช่วยให้องค์กรสามารถค้นพบ จัดการ เผยแพร่ และถ่ายถอดข้อมูลและความเชี่ยวชาญที่สําคัญของบุคคลต่อบุคลล เพื่อนำไปพัฒนาการทำงาน
หัวหน้าส่วนจัดการองค์ความรู้ (Chief Knowledge Officer)
หน้าที่
สอนผู้ที่ต้องการหาข้อมูลเพื่อตั้งคำถาม
กำหนดกระบวนการต่างๆ
ได้รับอนุมัติจากผู้บริหารเพื่อสนับสุนการทำKM
สามารถหาข้อมูลและเปลี่ยนแปลงตามความต้องการทันที
จัดเก็บองค์ความรู้เพื่อนำไปใช้ประโยชน์สูงสุด
จัดการKMได้อย่างกว้างขวาง
วางกลยุทธิ์ในการทำKM
คุณสมบัติ
มีประสบการณ์ในการทำKM
สามารถให้เห็นถึงประโยชน์ของการทำKM
เคยทำงานในองค์กรหรือทำหน้าที่เกี่ยวกับKM
การพัฒนาระบบจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management Development)
กำหนดองค์ความรู้
สร้างกลไกการตอบสนอง
จัดตั้งทีมงาน
กำหนดกรอบแนวคิด
เตรียมการเปลี่ยนแปลง
ผสมผสานระบบที่มีอยู่แล้ว
ค้นหาปัญหา
ชนิดขององค์ความรู้ (Type of Knowledge)
ลักษณะที่ประกอบขึ้น
Presentation Knowledge
Assimilative Knowledge
Reasoning Knowledge
Procedural Knowledge
Descriptive Knowledge
Linguistic Knowledge
ประโยชน์การแข่งขันทางธุรกิจ
Trivial Knowledge
Base Knoeledge
ประโยชน์ในการใช้งาน
องค์ความรู้เชิงระเบียบวิธี
องค์ความรู้ฮิวริสติค
องค์ความรู้เชิงประเทศ
องค์ความรู้เชิงกล
องค์ความรู้เชิงสถิติ
องค์ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือ
องค์ความรู้เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติ
ลักษณะของKM
องค์ความรู้แบบไม่มีโครงสร้าง (Tacit Knowledge)
องค์ความรู้แบบมีโครงสร้าง (Explicit Knowledge)
แนวทางปฏิบัติ เทคโนโลยี และเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบจัดการองค์ความรู้
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ข้อมูล เครื่องมือต่างๆ ระบบปฏิบัติการ ซอฟแวร์ โปรแกรมเกี่ยวกับการจัดการต่างๆ
ระบบจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management System)
เป็นกระบวนการนำความรู้ในรูปแบบที่ไม่มีโครงสร้าง
(Tacit Knowledge) มาปรับมาแปลงให้เป็นรูปแบบที่มีโครงสร้างชัดเจน (Explicit Knowledge) ซึ่งจะช่วยให้องค์กรแก้ปัญหา ตัดสินใจต่างๆได้ง่ายยิ่งขึ้น
องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)
การเรียนรู้ขององค์กร
การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ เพื่อดึงมาใช้ประโยชน์ โดยต้องอาศัยจากบุุคคลในองค์กร ทิศทางการเรียนรู้มีหลากหลายแบบ
วัฒนธรรมองค์กร
การแบ่งปันความรู้ทุกคนในองค์กรให้เรียนรู้ธรรมเนียมภายในต่างๆ
การเรียนรู้
Passive
Active
Interactive
ความทรงจำขององค์กร
การบันทึก แบ่งปัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลภายในองค์กร
วงจรการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management Cycle)
กําหนดรูปแบบองค์ความรู้
ปรับปรุงองค์ความรู้
จัดเก็บองค์ความรู้
จัดการองค์ความรู้
เผยแพร่องค์ความรู้
สร้างองค์ความรู้