Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535
พระราชบัญญัตินี้ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติเก่าที่ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ.2510 และพ.ศ.2516 ทั้งยังให้ความหมายของคำว่า "วัตถุอันตราย" หมายความว่าวัตถุ ดังต่อไปนี้
5.วัตถุที่ทำให้เกิดโรค
6.วัตถุกัมมันตรังสี
4.วัตถุมีพิษ
7.วัตถุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
3.วัตถุออกซิไดซ์ และวัตถุเปอร์ออกไซต์
9.วัตถุที่ทำให้เกิดการระคายเคือง
2.วัตถุไวไฟ
10.วัตถุอย่างอื่น
1.วัตถุระเบิดได้
8.วัตถุกัดกร่อน
กฎหมายฉบับนี้ครอบคลุมถึง การผลิต นำเข้า ส่งออก ขาย มีไว้ในคุ้มครอง วัตถุอันตราย โดยให้รัฐมนตรีกระทรวง
อุตสาหกรรมเป็นผู้รับผิดชอบ กฎหมายแบ่งออกเป็น 4 หมวด
1.คณะกรรมการวัตถุอันตราย ให้ประกอบด้วยปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นประธานมีอำนาจในการพิจารณาร้องเรียนและให้คำปรึกษาแก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
2.การควบคุมวัตถุอันตราย ให้จัดตั้งศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายขึ้นในกระทรวงอุตสาหกรรม แบ่งวัตถุออกเป็น 4 ชนิด ได้แก่
2.1.วัตถุอัตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องปฏิบัติตามเกณฑ์และวิธีที่กำหนด
2.2.วัตถุอันตรายที่การผลิตนำเข้า การส่งออกหรือการมีไว้ในครอบครองต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนและต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนด
2.3.วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องได้รับอนุญาตก่อน
2.4.วัตถุอันตรายที่การผลิต การนำเข้า การส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง โดยให้อำนาจกระทรวงที่รับผิดชอบคุณสมบัติ ภาชนะ การตรวจสอบ ฉลากการผลิต นำเข้า ส่งออก เก็บ ทำลาย และให้ผู้เชี่ยวชาญรับผิดชอบกำหนดขั้นตอนในการขึ้นทะเบียนเป็นวัตถุอันตราย
3.หน้าที่และความรับผิดชอบทางแพ่ง กำหนดให้ผู้ผลิต นำเข้า ผู้ขนส่ง ผู้มีไว้ในครอบครอง ใช้ความระมัดระวังในการตรวจสอบรับผิดชอบต่อการเสียหายอันเกิดแก่วัตถุอันตรายโดยมีสิทธิไล่เบี้ยเอากับผู้ที่ส่งมอบวัตถุอันตรายให้ตนจนถึงผู้ผลิตภายใน 3 ปี นับแต่วันที่ตนได้รับค่าสินไหมทดแทน
4.บทกำหนดโทษ ผู้ฝ่าฝืนอาจถูกปรับตั้งแต่ 10,000 ถึง 1,000,000 บาท หรือจำคุกตั้งแต่ 1 เดือนถึง 10 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ