Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ - Coggle Diagram
บทที่ 6
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
ความหมาย
การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนมีบทบาท มีส่วนร่วมในการเรียนกาสอน ผ่านการปฏิบัติ แก้ปัญหา หรือศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยยึดความสนใจของผู้เรียนเป็นสำคัญ สามารถพัฒนาศักยภาพของตนและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
หลักการพื้นฐานของแนวคิด
ผู้เรียนเรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทำงานการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึกผู้เรียนจะเป็นผู้จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
เป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศและหลักการความคิดรวบยอด
สาระที่สำคัญ 2 ประการ
1.การจัดการโดยคำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน
เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการโดยการสร้างบรรยากาศ จัดกิจกรรม
จัดสื่อจัดสถานการณ์ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ
2.การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้นำเอาสิ่งที่เรียนรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีควรควรช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทางสติปัญญา
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีควรช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางสังคม
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีควรช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทางด้านร่างกาย
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีควรช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางอารมณ์
ผู้สอนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง
การจัดการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนแต่ละคนได้พัฒนาตนเองสูงสุด ตามกำลังหรือศักยภาพของแต่ละคน โดยผู้สอนต้อง คำนึงถึงหลักความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นสำคัญ
ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผู้เรียน
บทบาทของครู
2. เป็นผู้ช่วยเหลือและแหล่งความรู้
3. เป็นผู้สนับสนุนกระบวนการเรียนการสอน
1. เป็นผู้จัดการ
4. เป็นผู้ติดตามตรวจสอบ
ปรัชญาการศึกษา
3. ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาจะต้องพัฒนาเด็กทุก ๆ ด้านไม่เฉพาะสติปัญญาเท่านั้น โรงเรียนมีความสัมพันธ์กับสังคมมากขึ้น
4. ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม
การศึกษาต้องเป็นไปเพื่อปรับปรุง พัฒนาและสร้างสรรค์สังคมใหม่ที่ดีและเหมาะสมกว่าขึ้นมาให้ได้
2. ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม
การสร้างคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์อย่างแท้จริง ปลูกฝังความเชื่อและค่านิยมที่ดีแก่ผู้เรียน มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีเหตุผลยิ่งขึ้น
5. ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม
คนคือความไม่แน่นอน ไม่มีแก่นสาร ความจริงหรือความรู้ควรจะเป็นเรื่องที่ช่วยให้ตนเองดํารงชีวิตอยู่ได้
1. ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม
เน้นเนื้อหาสาระและความสําคัญของมรดกทางวัฒนธรรมของสังคมที่ได้รับการยอมรับและปฏิบัติกันในสังคมจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางในการดําเนินชีวิตของประชาชนในสังคม
6. ปรัชญาการศึกษาพุทธปรัชญา
การศึกษาคือการพัฒนาบุคคลให้ถึงพร้อมด้วยปัญญา และดําเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตลอดจนรู้จักแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จุดมุ่งหมาย
เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสนใจความสามารถของตนเอง
เพื่อให้ผู้เรียนได้เชื่อมโยงการเรียนรู้กับสภาพชีวิตประจ าวัน
เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลงมือกระท าปฏิบัติหรือศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
เพื่อให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนความคิด ความรู้กับเพื่อนๆ
เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถต่างๆตามความสามารถของตน
เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนมากขึ้น
ลักษณะของการจัดการเรียนการสอน
จัดให้ผู้เรียนได้มีโอกาสนําความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจําวัน
จัดให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างความสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดกับเพื่อนๆ
จัดให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะทางการคิดวิเคราะห์
เน้นการประเมินตนเอง เดิมผู้สอนเป็นผู้ประเมิน การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ประเมินตนเองอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่อง
จัดให้ผู้เรียนได้ลงมือทํากิจกรรม ปฏิบัติ แก้ปัญหาหรือศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากสื่อ เพื่อนและครู
เน้นความร่วมมือ ซึ่งเป็นทักษะที่สําคัญในการดําเนินชีวิตประจําวัน
จัดตามความสนใจ ความสามรถ ตั้งแต่การร่วมกําหนดวัตถุประสงค์ เนื้อหา กิจกรรม การเรียนการสอน สื่อ และการประเมินผล
เน้นรูปแบบการเรียนรู้ ซึ่งอาจจัดได้ทั้งในรูปเป็นกลุ่มหรอเป็นรายบุคคล
ประเภทของการเรียนการสอนที่ผู้เรียนเป็นสําคัญ
การสอนแบบเน้นกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นหลัก และการสอนแบบเน้นสื่อ
การสอนแบบร่วมมือ (Co-Operative Learning)
การสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากกระบวนการการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)
การสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความคิดรวบยอด (Concept Attainment)
การสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem Base Learning)
การสอนแบบเน้นสื่อเป็นประเภทของการสอนในลักษณะใช้สื่อเป็นหลัก
รูปแบบและวิธีการจัดการเรียนการสอน
9.โครงงาน (Project)
10.การทดลอง (Experiment)
8.คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)
11.การใช้คำถาม
7.ชุดการสอน (Instructional Package)
12.การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discuss)
6.ศูนย์การเรียน (Learning center)
13.การแก้ปัญหา (Problem-Solving)
5.โปรแกรมสำเร็จรูป (Programmer Instruction)
14.สืบสวน สอบสวน (Inquiry)
4.บทบาทสมมุติ (Role-play)
15.กลุ่มสืบค้นความรู้ (Group Investigation)
3.กรณีตัวอย่าง (Case)
16.อริยสัจ 4 (4 Noble Truth Method)
2.สถานการณ์จำลอง (Simulations)
17.ทัศนศึกษานอกสถานที่ (Field trip)
1.เกมการศึกษา (Educational Game)
18.โมเดลซิปป้า (CIPPA Model)
ยุทธศาสตร์การจัดการเรียนการสอน
3. การเรียนแบบอภิปัญญา
เป็นการเรียนที่ให้ผู้เรียนคิดโดยเป็นการคิดที่รู้ว่าตัวเองคิดอะไร มีวิธีคิดอย่างไร สามารถตรวจสอบความคิดของตนได้
4. การเรียนแบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
การเรียนแบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เป็นการเรียนโดยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความคิดสร่างสรรค์
2. การเรียนแบบประสบการณ์
เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ หรือการเรียนรู้จากการได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยผู้เรียนได้รับการกระตุ้นให้สะท้อนสิ่งต่างๆที่ได้จากประสบการณ์
5. การเรียนแบบทําโครงงาน
เป็นการเรียนโดยให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเรื่องที่ตนเองสนใจและทําเป็นโครงงาน
1.การเรียนแบบร่วมมือ
เป็นวิธีการเรียนที่ให้นักเรียนทํางานร่วมกันเป็นกลุ่มเล็กๆ เพื่อให้เกิดผลการเรียนรู้ทั้งด้านความรู้ และทางด้านจิตใจ
การจัดการเรียนรู้ในสาระวิชา
กลุ่มวิชาภาษา
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีนและภาษาอื่นๆ
กลุ่มสังคมศาสตร์-มนุษยศาสตร์
สังคมศึกษา ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศาสนา การปกครอง
กลุ่มวิทยาศาสตร์
ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และวิทยาศาสตร์กายภาพ
กลุ่มศิลปะ
ศิลปศึกษา อุตสาหกรรมศิลป์ คหกรรมศิลป์ เกษตรกรรมศิลป์ ธุรกิจศิลป์
กลุ่มคำนวณ
คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมีคำนวณ
บทบาทของผู้เรียน
2. เป็นผู้มีส่วนร่วม
3. เป็นสมาชิกของกลุ่มผู้เรียน
1. เป็นผู้ลงมือกระทํา
4. เป็นผู้ประเมิน
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและการประเมินผล จะนิยมใช้การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงในห้องเรียน จะเป็นการวัดและประเมินผลที่บอกถึงระดับความรู้ ความสามารถที่เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน อันเนื่องมาจากการให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจนกระทั่งได้ชิ้นงานในรูปแบบหนึ่งออกมาตอนสุดท้าย
เทคนิคที่นิยมใช้ตาม A.A.
การใช้ Portfolio
การใช้แบบทดสอบความสามารถจริง
การสังเกต การบันทึกพฤติกรรม