Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับครูและวิชาชีพครู - Coggle Diagram
กฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับครูและวิชาชีพครู
กฎหมายและรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการศึกษา
ความสำคัญของกฏหมายการศึกษา
กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อบังคับให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหากผู้ใดละเมิดหรือไม่ปฏิบัติตามก็จะได้รับโทษ
การดําเนินงานทางการศึกษา เป็นบริการที่เกี่ยวข้องกับผู้คนเป็นจํานวนมาก ทั้งที่เป็นฝ่ายจัดการศึกษา ฝ่ายรับบริการทางการศึกษาและฝ่ายที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
กฏหมายที่ใช้ในประเทศไทย
รัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ
พระราชกําหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
กฎหมายที่ตราขึ้นโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความสําคัญต่อการดําเนินงานทางการศึกษา
กฎหมายเป็นเครื่องมือในการดําเนินงาน
กฎหมายการศึกษาเป็นกรอบการดําเนินงาน
กฎหมายการศึกษาช่วยให้สามารถใช้การศึกษาพัฒนาเด็กและเยาวชน
กฎหมายการศึกษาทําให้ประชาชนของประเทศเกิดสิทธิและหน้าที่
จําแนกกฎหมายการศึกษาเป็น 5 ประเภท
กฎหมายแม่บททางการศึกษา
กฎหมายว่าด้วยการจัดการโครงสร้างและการบริหารจัดการทางการศึกษา
กฎหมายว่าด้วยการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
กฎหมายว่าด้วยการบริหารงานบุคคลทางการศึกษา
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
มาตรา 5 ให้คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ประกาศรายละเอียดเกี่ยวกับการส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา และการจัดสรรโอกาสเข้าศึกษาต่อระหว่างสถานศึกษาที่อยู่ในเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ
มาตรา 12 ให้กระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานศึกษา จัดการศึกษาเป็นพิเศษสําหรับเด็กที่มีความบกพร่อง
มาตรา 19 ให้บรรดากฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ และคําสั่งที่ออก ตามพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2523
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
มาตรา 4 การศึกษา หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้ เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล และสังคม
การศึกษาตลอดชีวิต
การประกันคุณภาพภายใน
การประกันคุณภาพภายนอก
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มี 9 หมวด 78 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
หมวดที่ 1 บททั่วไป ความมุ่งหมาย และหลักการ (มาตรา 1 – 9)
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา (มาตรา 10 – 14)
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา (มาตรา 15 – 21)
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา (มาตรา 22 – 30) เป็นหัวใจของ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาต
หมวด 5 การบริหาร และการจัดการศึกษา (มาตรา 31 – 46)
หมวดที่ 9 เทคโนโลยี เพื่อการศึกษา (มาตรา 63 – 69)
หมวดที่ 6 มาตรฐาน และการประกันคุณภาพทางการศึกษา (มาตรา 47 – 51)
หมวดที่ 8 ทรัพยากร และการลงทุน เพื่อการศึกษา (มาตรา 58 – 62)
บทเฉพาะกาล (มาตรา 70 – 78)
หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา (มาตรา 52 – 57)
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
หมวด 1 คณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
หมวดที่ 3 การกําหนดตําแหน่งวิทยะฐานะ และการให้ได้รับเงินเดือน เงินวิทยะฐานะ เงินประจําตําแหน่ง
หมวดที่ 6 วินัยและการรักษาวินัย
โทษทางวินัย
ภาคทัณฑ์
ตัดเงินเดือน
ลดเงินเดือน
ปลดออก
ไล่ออก
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
หมวด 1 สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
แบ่งเป็น 6 ส่วน 55 มาตรา
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
ส่วนที่ 2 คณะกรรมการคุรุสภา
ส่วนที่ 3 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ส่วนที่ 4 การดําเนินงานของคุรุสภา
ส่วนที่ 5 การประกอบวิชาชีพควบคุม
ส่วนที่ 6 สมาชิกคุรุสภา
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2562
ประกาศใช้ 6 กรกฎาคม2546 มีการแก้ไขเพิ่มเติม 2 ครั้ง มีทั้งหมด 5 หมวด 82 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
หมวดที่ 1 ระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
หมวดที่ 2 ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
หมวดที่ 3 ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับ ปริญญา ที่เป็นนิติบุคคล แต่ไม่รวมถึงการจัดการศึกษาที่อยู่ในอํานาจของกระทรวงอื่นที่มีกฎหมายกําหนดไว้เป็นการเฉพาะ
หมวดที่ 4 การปฏิบัติราชการแทน
หมวดที่ 5 การรักษาราชการแทน
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
พ.ร.บ. คุ้มครองเด็กฯ เป็นกฎหมายที่มุ่งให้ความคุ้มครองแก่เด็กทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสงเคราะห์ การคุ้มครองสวัสดิภาพ การพัฒนาและฟื้นฟู ทั้งนี้โดยคํานึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสําคัญ
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “เด็ก” “เด็กเร่ร่อน” “เด็กกําพร้า” “เด็กที่อยู่ในสภาพยากลําบาก” “เด็กพิการ”“เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทําผิด” “สถานรับเลี้ยงเด็ก” “สถานแรกรับ” “สถานสงเคราะห์” “สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ”
หมวด 4 การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก
หมวด 2 การปฏิบัติต่อเด็ก
หมวด 3 การสงเคราะห์เด็ก
หมวด 6 สถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพและสถานพัฒนาและฟื้นฟ
หมวด 5 ผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
หมวด 7 การส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา
หมวด 8 กองทุนคุ้มครองเด็ก
หมวด 9 บทกําหนดโทษ
พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย
มี 4 หมวด 1 บทเฉพาะกาล
31 มาตรา
หมวด 2 คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
หมวด 3 แผนพัฒนาเด็กปฐมวัย
หมวด 1 บททั่วไป
หมวด 4 การพัฒนาเด็กปฐมวัย
บทเฉพาะกาล
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้"เด็กปฐมวัย" "การพัฒนาเด็กปฐมวัย" "ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย" "สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย" "คณะกรรมการ"
มาตรา 4 ให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้