Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลน่าน - Coggle…
การพัฒนาระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลน่าน
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาระบบบริการพยาบาลสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลน่าน
เพื่อประเมินผลการพัฒนาระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลน่าน
เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของระบบบริการพยาบาลสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลน่าน
ระเบียบวิธีวิจัย
การวิจัยและพัฒนา (Research and Development)
2) ระยะการพัฒนาระบบบริการพยาบาล
3) ระยะประเมินผลการพัฒนาระบบ
1) ระยะวิเคราะห์สถานการณ์
กลุ่มตัวอย่าง
2) ระยะการพัฒนาระบบบริการพยาบาล
ทีมสหสาขาวิชาชีพ
3) ระยะประเมินผลการพัฒนาระบบ
ผู้ป่วย ผู้ดูแล พยาบาลวิชาชีพแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ทีมสหสาขาวิชาชีพ (แพทย์ เภสัชกร พยาบาล นักกิจกรรมบำบัด นักกายภาพบำบัด และนักโภชนาการ)
1) ระยะวิเคราะห์สถานการณ์
เวชระเบียนผู้ป่วย ผู้ป่วย ญาติ/ผู้ดูแล ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแล
เครื่องมือวิจัย
แผนพัฒนาสมรรถนะการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดระยะเฉียบพลัน
แนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
ขั้นตอนการทำวิจัย
ระยะประเมินผลการพัฒนาระบบ
3.2 ทำการประกาศใช้ระบบบริการพยาบาล
3.3 เก็บข้อมูลเพื่อประเมินผลการพัฒนาระบบบริการและวิเคราะห์ข้อมูล
3.1 ประชุมบบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ระยะการพัฒนาระบบบริการพยาบาล
2.1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการโดยเชิญบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้ป่วยหลอดเลือดสมองมาร่วมวางแผนการดูแลผู้ป่วยตามบทบาทขอบเขตหน้าที่และมาตรฐานของแต่ละวิชาชีพ
2.2 จัดทำแนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง
2.3 จัดทำเครื่องมือประเมินสมรรถนะวิชาชีพพยาบาลในการดูแลผู้ป่วย จัดทำแผนการพัฒนาบุคลากรร่วมกับพยาบาลหัวหน้างาน
2.4 นำรูปแบบการบริการผู้ป่วยหลอดเลือดสมองไปทดลองใช้กับผู้ป่วย 20 ราย เก็บรวมรวมปัญหาในการปฏิบัติเพื่อนำมาพัฒนาระบบบริการพยาบาลอีกครั้ง
ระยะวิเคราะห์สถานการณ์
1.1 เก็บรวบรวมข้อมูลการดูแลผู้ป่วยจากเวชระเบียนเพื่อวิเคราะห์กิจกรรมการให้บริการตั้งแต่แรกรับที่แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน จนกระทั่งจำหน่วย ตลอดจนประเมินผลลัพธ์ของการรักษาของผู้ป่วยแต่ละราย
1.2 สัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการผู้ป่วยเพื่อทราบปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน
1.3 สัมภาษณ์ผู้ป่วยหรือญาติผู้ดูแล ถึงความกังวลใจ ความต้องการความช่วยเหลือในการช่วยดูแลผู้ป่วย
ผลการศึกษา
การพัฒนาระบบบริการพยาบาล
จัดทำแนวทาง Acute stroke fast track guidelines for Nan Hospital
2.2 คำสั่งการรักษาผู้ป่วยที่จำเพาะและเป็นมาตรฐาน
2.3 กิจกรรมการพยาบาล การวางแผนจำหน่ายที่ครอบคลุม
2.1 แผนการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (care map)
การประเมินผลการพัฒนาระบบบริการพยาบาล
3.2 สมรรถนะการพยาบาลของวิชาชีพปฏิบัติการแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉินมีคะแนนสมรรถนะกรพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดในระยะเฉียบพลันเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001)
3.3 ทีมสหสาขาวิชาชีพปฏิบัติตามแผนได้มากกว่าร้อยละ 90
3.1 ผู้ป่วยมีความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองภายหลังจำหน่าย 30 วันมากกว่าก่อนจำหน่าย ผู้ดแูลมีความรู้และสามารถดแูล
ผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องครบถ้วนทำให้ผลลัพธ์ทางคลินิกของผ้ปู่วยเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
สถานการณ์ปัจจุบันและปัญหา
1.2 การตรวจทางห้องปฏิบัติการมีความล่าช้า
1.3 พยาบาลระดับปฏิบัติการ แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ขาดทักษะที่จจำเป็นในการดูแลผู้ป่วย Acute stroke
1.1 ระบบการเบิก จ่าย ยาละลายลิ่มเลือดมีหลายขั้นตอนทำให้ผู้ป่วยได้รับยาล่าช้า
1.4 4. ผู้ป่วยที่เกิดโรคหลอดเลือดสมองในโรงพยาบาล ได้รับการประเมิาล่าช้า
ข้อเสนอแนะในการพัฒนางาน
สิ่งสำคัญในการพัฒนาบริการพยาบาลแก่ผู้ป่วย คือ การวิเคราะห์ปัญหาจากกระบวนการดูแลผู้ป่วย ปัญหาจากผู้ปฏิบัติงาน และมุมมองความต้องการของผู้รับบริการ ซึ่งการพัฒนาระบบบริการจำเป็นต้องมีติดตามทบทวนกระบวนการดูแลผู้ป่วยของบุคลากรอยู่เสมอ เพื่อให้เกิดการปรับกระบวนการอย่างเหมาะสม และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
พยาบาลมีบทบาทในการให้การดูแลผู้ป่วยโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ตามแนวทางปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความปลอดภัย ความรู้ความเข้าใจในแนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยเป็นสิ่งที่จำเป็น ซึ่งหากนำสู่การปฏิบัติก็จะเกิดประโยชน์กับผู้ป่วยสูงสุด
บุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองควรมีการทำงานที่เชื่อมโยงต่อเนื่องกัน