Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายสิ่งแวดล้อม (Environmental Law)
หมายถึง กฎหมายตราขึ้นเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
เยียวยาความเสื่อมโทรมแห่งสุขภาพของสิ่งมีชีวิต
และเกี่ยวกับกฎหมายจารีตประเพณี สนธิสัญญา
ข้อตกลง พันธกรณี กฎระเบียบ และนโยบาย
กฎหมายสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ
เพื่อให้การดำเนินงานควบคุมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมในประเทศไทยมีผลมากขึ้น
1 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
พ.ศ. 2535
1.1 คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ กำหนดให้มีการตั้ง
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อทำหน้าที่กำกับดูแล
และดำเนินการวางแผนสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
1.2 กองทุนสิ่งแวดล้อม จัดตั้งขึ้นในกระทรวงการคลัง เพื่อกำหนด
เงื่อนไขในการให้รัฐและเอกชนกู้ยืม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
1.3 การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม กำหนดมาตรฐานคุณภาพ การวางแผน
จัดการคุณภาพ การประกาศเขตอนุรักษ์ และพื้นที่คุ้มครอง การทำ
รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
1.4 การควบคุมมลพิษ จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เสนอแผนปฏิบัติ
การป้องกันหรือแก้ไขอันตรายจากมลพิษ แนะนำเรื่องมาตรฐานควบคุมมลพิษ
จากแหล่งกำเนิด
1.6 ความรับผิดทางแพ่ง กำหนดให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกำเนิด
มลพิษมีหน้าที่รับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายที่ตนก่อขึ้น
1.5 มาตราการส่งเสริม เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษ
ยื่นขอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
1.7 บทกำหนดโทษ ผ่่าฝืนจำคุกตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 5,000
ถึง 500,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
2 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
2.1 การประกอบกิจการโรงงาน
ก. ประเภทโรงงาน ข. กำหนดมาตรฐาน
ค. การขยายโรงงาน ง. กำหนดเขตประกอบอุตสาหกรรม
2.2 การกำกับและดูแลโรงงาน เจ้าหน้าที่มีหน้าที่เข้าไปตรวจสอบสภาพในโรงงาน เก็บตัวอย่างยึดหรืออายัดผลิตภัณฑ์ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ในกรณีมีเหตุสงสัยว่าอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน
2.3 บทกำหนดโทษ ฝ่าฝืนถูกปรับตั้งแต่ 5,000 ถึง 200,000 บาท
หรือจำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 2 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ (โทษหนักที่สุด กรณีโรงงานฝ่าฝืนคำสั่งให้หยุดประกอบกิจการโรงงาน ระวางโทษจำคุก ไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และให้ปรับอีกวันละ 5,000 บาท จนกว่าจะหยุดกิจการ)
3 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติฉบับนี้ยกเลิก พระราชบัญญัติการสาธารณสุขฉบับที่มีใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2527 และพระราชบัญญัติควบคุมการใช้อุจจาระและปุ๋ยที่มีใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2497
กฎหมายให้คำจำกัดความของเสียไว้ 2 ชนิด
"สิ่งปฏิกูล" หมายความว่า "อุจจาระหรือปัสสาวะหรือสิ่งที่มีกลิ่นเหม็น
"มูลฝอย" หมายความว่า "เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก มูลสัตว์หรือซากสัตว์"
4 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
บังคับใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2510 - 2516
วัตถุอันตราย ความหมาย วัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุเปอร์ออกไซด์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน และวัตถุที่ทำให้เกิดการระคายเคือง
กฎหมายอนุรักษ์พลังงาน
ความต้องการใช้พลังงานเพื่อตอบสนองการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศได้เพิ่มขึ้นในอัตราที่สูง จึงได้ยกร่างกฎหมายส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานขึ้นมา เพื่อกำหนดมาตรการในการกำกับดูแล ส่งเสริม และช่วยเหลือเกี่ยวกับการใช้พลังงาน
การอนุรักษ์พลังงาน
การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด
นโยบายพลังงาน
เสริมสร้าง พัฒนา ส่งเสริม กำกับ ใส่ใจและดูแล