Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายคุ้มครองและอนุรักษ์มรดก วัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ - Coggle Diagram
นโยบายคุ้มครองและอนุรักษ์มรดก วัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
รัชกาลที่ 1
กฏหมายตราสามดวง
มีข้อกำหนดเพื่ออนุรักษ์ศาสนาและสงวนโบราณวัตถุ
มีการกำหนดบทลงโทษ
ยึดแนวทางการอนุรักษ์แบบอยุธยา
รัชกาลที่ 4
มีการประกาศเขตรังวัด
ให้ชาวบ้านที่อยู่ในเขตวัดช่วยดูแลพื้นที่นั้น
หากว่าทำลายถูกทำลายแล้วไม่แจ้งทางการถือว่ามีความผิด
รัชกาล 5
จัดตั้งหอพระสมุดวชิรญาณ
เก็บรักษาหนังสือ เอกสารโบราณ
จัดตั้งหอคองคอเดีย
จัดแสดงสมบัติของชาติ
ปัจจุบันคือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ในปลายรัชกาลมีการจัดตั้งโบราณคดีสโมสร
เพื่อสำรวจดูแลสมบัติโบราณ
มีการกำหนดแนวทางในการปฏิบัติสังขรณ์แบบใหม่
รัชกาลที่ 6
ให้กรรมการหอพระสมุดสำหรับพระนครและราชบัณฑิตยสภา
รับผิดชอบโบราณวัตถุสถาน
ออกประกาศการจัดการตรวจรักษาของโบราณพุทธศักราช 2466
กิจการโบราณคดีสโมสร
ได้รับความสนใจเป็นที่แลกเปลี่ยนงานศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ
ศิลปวัฒนธรรมสยาม ระหว่างนักวิชาการไทยและต่างชาติ
รัชกาลที่ 7
มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติพิพิธภัณฑ์ พ.ศ.2469
รวบรวมโบราณวัตถุที่อยู่ตามสถานที่ต่างๆมาเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการส่งโบราณวัตถุและศิลปวัตถุออกนอกประเทศ
ต้องได้รับอนุญาติจากราชบัญฑิตยสภา
สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ยังได้ชี้แจงให้ ข้าหลวงเทศามณฑลต่างๆเข้าใจถึงแนวทางการอนุรักษ์ของโบราณที่ควรสงวน
เช่นของสำคัญในพงศาวดารและของสำคัญในทางศิลปะ
รัชกาลที่ 8
พ.ศ.2478
ได้ออกประกาศหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับโบราณวัตถุสถานและการพิพิธภัณฑ์
ไปให้กรมศิลปากร กระทรวงธรรมการ
พ.ศ.2483
ประกาศใช้พระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2483และ
ฉบับที่2 พ.ศ.2485โดยได้มีการบัญญัติความหมายของคำว่าวัฒนธรรม
มีการประกาศใช้นโยบายรัฐนิยมเพื่อส่งเสริมความเป็นไทย
พ.ศ.2485
ยกเลิกพระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติทั้ง 2ฉบับ
ประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2485
จัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ
มีฐานะเป็นกรมในกระทรวงวัฒนธรรม
หน้าที่รับผิดชอบ
การศึกษา การค้นคว้าวิจัย
การปลูกฝังเผยแพร่
การปกป้องคุ้มครอง
พ.ศ.2486
มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ ฉบับที่2
ยกสภาวัฒนธรรมแห่งชาติขึ้นเป็นทบวงการเมืองอยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี
มีพระราชกฤษฏีกาให้ราษฏรปฏิบัติ
ให้ประชาชนรักษาเกียรติของประเทศ
ให้ประชาชนรักษาจรรยาบรรณมารยาทอันดีงามในที่สาธารณะ
รัชกาลที่ 9
พ.ศ.2492-2500
จัดตั้งกระทรวงวัฒนธรรม
ดูแล
กรมศาสนา
กรมศิปากร
กรมการวัฒนธรรม
สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ
สภาวัฒนธรรมฝ่ายหญิง
รัฐบาลได้เร่งส่งเสริม เผยแพร่การให้ความรู้ด้านวัฒนธรรม
พ.ศ.2501
กระทรวงวัฒนธรรม ถูกลดฐานะลงเป็นเพียงกองวัฒนธรรม สังกัดกรมศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม
บทบาทและความรับผิดชอบด้านวัฒนธรรมอยู่ในกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2512
ประกาศใช้พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฏหมาย พ.ศ.2512
เพิ่มโทษเกี่ยวกับลักษณะทรัพย์ที่ต่อเนื่องกับศาสนา
เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายขององค์กรยูเนสโก
พ.ศ.2522
มีการตราพระราชบัญญัติสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ2522
มีการจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (สวช.)
มีฐานะเท่าเทียมกรมสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
จุดมุ่งหมายในการจัดตั้ง เพื่อให้เป็นหน่วยงานกลางด้านศิลปกรรม
พ.ศ.2524
มีการประกาศนโยบายวัฒนธรรมแห่งชาติพ.ศ.2524
สอดคล้องกับ
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2521
องค์การสหประชาชาติ
พ.ศ.2545
มีการจัดตั้งกระทรวงวัฒนธรรมตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวงกรมพ.ศ.2545
เป็นการยกระดับการปฏิบัติงานของสวช.
ขจัดปัญหา
อุปสรรคจากการทำหน้าที่ของ สวช.
ขาดแคลนงบประมาณและบุคคลากร
การใช้ประโยชน์จากมรดกวัฒนธรรมในทางที่ผิด