Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบขนส่งในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว - Coggle Diagram
ระบบขนส่งในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
:
ถนนในประเทศไทยแบ่งออกเป็น 5 ประเภท
1.ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง คือ ทางหลวงที่ออกแบบเพื่อให้การจราจรผ่านได้ตลอด รวดเร็วเป็นพิเศษ
2.ทางหลวงแผ่นดิน คือ ทางหลวงสายหลักที่เป็นโครงข่ายเชื่อมระหว่างภาค จังหวัด อำเภอ ตลอดจนสถานที่ที่สำคัญ
3.ทางหลวงชนบท คือ ทางหลวงนอกเขตเทศบาลและเขตสุขาภิบาลที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดและกรมทางหลวงชนบทเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้าง ขยาย บูรณะและบำรุงรักษาและได้ลงทะเบียนไว้เป็นทางหลวงชนบท
4.ทางหลวงเทศบาล คือ ทางหลวงในเขตเทศบาลที่เทศบาลเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างขยาย บูรณะและบำรุงรักษาและได้ลงทะเบียนไว้เป็นทางหลวงเทศบาล
5.ทางหลวงสุขาภิบาล คือ ทางหลวงในเขตสุขาภิบาลที่สุขาภิบาลเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างขยาย บูรณะ และบำรุงรักษา และได้ลงทะเบียนไว้เป็นทางหลวงสุขาภิบาล
การขนส่งทางถนน การขนส่งทางบกหรือการขนส่งทางถนน เป็นการขนส่งหลักที่ใช้ในการขนส่งภายในประเทศ เนื่องจากเป็นการขนส่งที่สะดวก ราคาถูก และสามารถขนส่งสินค้าไปถึงผู้บริโภคได้
การขนส่งทางอากาศ (Air Transportation) เหมาะกับการขนส่งระหว่างประเทศ หรือการขนส่งที่ต้องการความรวดเร็ว สะดวกและปลอดภัย เหมาะกับการขนส่งสินค้าประเภทที่เปราะบาง เช่น ผัก ผลไม้ เป็นต้น ไม่เหมาะกับสินค้าที่มีขนาดใหญ่ น้ำหนักมากและสินค้าราคาถูกๆ ไม่รีบร้อนในการขนส่ง แต่ค่าใช้จ่ายแพงกว่าการขนส่งประเภทอื่น
คุณลักษณะที่สำคัญของการขนส่งสินค้าทางอากาศ
1.ความรวดเร็ว การส่งสินค้าทางอากาศนับว่ามีความรวดเร็วที่สุด
2.ความแน่นอน มีตารางการบินที่แน่นอน สม่ำเสมอ และตรงต่อเวลา
ผู้ที่มีบทบาทในการขนส่งสินค้าทางอากาศ
1.ผู้ส่งสินค้าผู้ส่งสินค้าหรือ Shipper หมายถึง ผู้ที่มีชื่อปรากฏอยู่ในเอกสารกำกับสินค้า หรือ Air Waybill ที่จะทำการ หรือร่วมทำการขนส่งสินค้า ภายใต้เงื่อนไขใน Air Waybill
2.บริษัทการบินบริษัทการบิน หรือ Carrier หมายถึงบริษัทการบินต่างๆ ซึ่งรวมทั้งบริษัทการบินที่ออกเอกสารกำกับสินค้า Air Waybill ที่จะทำการหรือร่วมทำการขนส่งสินค้า ภายใต้เงื่อนไขใน Air Waybill
3.ผู้รับสินค้า ผู้รับสินค้า หรือ Consignee หมายถึงผู้ที่มีนามระบุอยู่ใน Air Waybill ซึ่งบริษัทการบินจะต้องส่งมอบสินค้าให้เมื่อถึงเมืองปลายทางตามที่ระบุไว
4.บริษัทตัวแทน บริษัทตัวแทน หรือ IATA CARGO AGENT หมายถึงบริษัทที่ได้รับรองจาก สมาคมการขนส่งทางอากาศ และแต่งตั้งโดยบริษัทการบิน ให้ดำเนินการรับและออกเอกสารกำกับสินค้า Air Waybill พร้อมทั้งเก็บค่าขนส่งที่เกี่ยวข้องในนามของบริษัทการบิน
การขนส่งทางน้ำ คือ การขนส่งโดยการใช้แม่น้ำลำคลอง เส้นทางทางทะเลเป็นเส้นทางลำเลียงสินค้า ส่วนใหญ่ใช้สำหรับการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ซึ่งเหมาะสมกับสินค้าที่มีขนาดใหญ่ ขนส่งได้ปริมาณมากเป็นสินค้าที่ยากแก่การเสียหาย เช่น ทราย แร่ ข้าวเปลือก เครื่องจักร ยางพารา เป็นต้น ซึ่งการขนส่งทางน้ำอัตราค่าขนส่งถูกกว่าเมื่อเทียบกับการขนส่งทางอื่น ทั้งยังขนส่งได้ปริมาณมาก สามารถส่งได้ระยะไกล ๆ ได้ แต่ไม่สามารถกำหนดเวลาที่แน่นอนในการขนส่งได้ขึ้นอยู่กับภูมิอากาศ และ ภูมิประเทศ
ข้อดี
1.เหมาะกับการขนส่งสินค้าจำนวนมาก
2.เหมาะสำหรับการขนส่งระยะไกล
3.เหมาะสำหรับการขนส่งสิ่งของน้ำหนักมาก
4.มีความตรงต่อเวลา
ข้อเสีย
1.ไม่สามารถสร้างรางได้ในบางพื้นที่
2.มีข้อจำกัดด้านการเข้าถึงตลาดและผู้บริโภค
3.การขนส่งจำกัดอยู่เพียงระหว่างสถานีต่าง ๆ
การขนส่งทางรถไฟ เป็นเส้นทางการลำเลียงที่สำคัญที่สุดของประเทศ เหมาะสำหรับการขนส่งสินค้าหนัก ๆ ปริมาณมากและในระยะทางไกล รวดเร็ว อัตราค่าบริการไม่แพง และขนส่งสินค้าได้จำนวนมากหลายชนิด ทันตามกำหนดเวลาที่ต้องการ แต่ความยืดหยุ่นมีน้อย เพราะมีเส้นทางตายตัว
3.มีความคล่องตัวน้อยกว่าการขนส่งแบบอื่น เพราะมีกฎระเบียบมากไม่เหมาะสมกับผู้ส่งสินค้ารายย่อย ปริมาณน้อย
2.ความยืดหยุ่นมีน้อย เพราะอาจมีเส้นทางตายตัว
1.ไม่สามารถขนส่งสินค้าให้ถึงที่ต้องการขนถ่ายได้
ข้อเสีย
5.ขนส่งได้ทุกสภาพดินฟ้าอากาศ
4.ปลอดภัยสูง เมื่อเทียบกับเส้นทางอื่น
3.สะดวก เพราะมีตู้จัดส่งหลายชนิดให้เลือกเพื่อความเหมาะสมกับสินค้า
2.รวดเร็ว สามารถขนส่งสินค้าได้ทันตามกำหนดเวลาที่ต้องการ
1.ประหยัด ขนส่งสินค้าได้จำนวนมากหลายชนิด
ข้อดี
ข้อดี
1.ใช้เวลาในการขนส่งน้อย
2.สินค้าแบบใหม่ๆโดยเฉพาะสินค้าประเภทแฟชั่น สามารถส่งไปยังตลาดต่างๆ ทั่วโลกได้ในเวลาที่ รวดเร็ว
ข้อเสีย
1.เสียค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานค่อนข้างสูง เพราะมีอัตราค่าขนส่งสินค้าสูงกว่าอัตราค่าขนส่ง ประเภทอื่น ๆ
2.การขนส่งขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศทำให้เป็นอุปสรรคต่อการขนส่งหากสภาพภูมิอากาศไม่เอื้ออำนวย
ข้อดี
1.ต้นทุนต่อหน่วยต่ำ
2.ขนส่งสินค้าขนาดใหญ่ได้
3.มีความปลอดภัยมากเพราะใช้ความเร็วต่ำ
ข้อเสีย
1.ใช้ระยะเวลายาวนาน
2.ต้องให้มีปริมาณมากเพียงพอ ไม่มีความคุ้มค่าหากต้องขนส่งทีละน้อย
3.ต้องมีการขนถ่ายซ้ำ
4.ความเสียหายจากการขนถ่ายสินค้าซ้ำ