Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ(Urinary system) - Coggle Diagram
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ(Urinary system)
หลอดไต (Ureters)
ยาวประมาณ 10-12 นิ้ว
เปิดสู่กระเพาะปัสสาวะทางด้านข้าง
ทอดตัวลงมาตามกล้ามเนื้อ psoas major
ทำหน้าที่นำปัสสาวะจากกรวยไตไปเก็บในกระเพาะปัสสาวะ
เป็นท่อต่อจาก renal pelvis
ระบบขับถ่ายปัสสาวะประกอบด้วยอวัยวะต่างๆดังนี้
หลอดไต หรือท่อไต(Ureters)
กระเพาะปัสสาวะ(Urinary bladder)
ไต(Kidneys)
หลอดปัสสาวะ หรือท่อปัสสาวะ(Urethra)
Urinary system
หน้าที่สำคัญของระบบขับถ่ายปัสสาวะ คือ
1)รักษาสมดุลของน้ำ สารพวกเกลือแร่ต่างๆ
2)เลือกสารขับถ่ายต่างๆที่เป็นพิษออกไป
3)ควบคุมสมดุลกรด-ด่างในร่างกาย
4)สร้างฮอร์โมน renin,erythropoietin และ calcitriol
ไต(Kidney)
มีอยู่ 2 ข้าง
รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว
วางตัวอยู่ด้านหลังของเนื้อเยื่อบุช่องท้อง(Retroperitoneum)เหนือเอวเล็กน้อย
อยู่ระหว่างกระดูกสันหลังระดับ T12-L3 (ไตซ้ายอยู่สูงกว่าไตขวาเล็กน้อย)
โครงสร้างที่ห่อหุ้มไต
ผิวนอกของไตถูกคลุมด้วยเนื้อเยื่อ 3ชั้น คือ
Renal capsule
Perinephric (Perirenal)fat
Renal fascia
โครงสร้างของไต
1.Cortex
2.Medulla
1.Renal Cortex
มีสีน้ำตาลแดง
มีส่วนแทรกเข้าไปใน pyramid เรียก renal column
ประกอบด้วย Renal corpuscles Glomerlusและ Bowman’s Capsule
พบท่อหน่วยไตส่วนต้น(renal tubule)
2.Renal medulla
พบ renal pyramid 6-12 อัน
ยอดแหลมของ pyramid เรียก renal papilla เป็นท่อเปิดของ papillary duct
ประกอบด้วยส่วน henle’s loop และcollecting duct
กระเพาะปัสสาวะ(Urinary bladder)
เป็นอวัยวะที่อยู่บริเวณช่องท้องน้อย( Pelvic cavity) หลังรอยต่อของกระดูกหัวหน่าว(Symphysis pubis)
ทำหน้าที่กักเก็บน้ำปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะ( Urethra)
ท่อปัสสาวะชาย(Male urethra)
เริ่มจากรูเปิดภายใน(internal orifice) ที่คอของกระเพาะปัสสาวะไปจนถึงรูเปิดภายนอก(external orifice)หรือที่ปลายองคชาต(penis)
เป็นทางผ่านของน้ำปัสสาวะและน้ำอสุจิ
มีความยาว 18-20 cm.
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
Prostatic urethra
Membranous urethra
Penile urethra
ท่อปัสสาวะเพศหญิง(Female urethra)
ยาว 4 ซม.ตั้งอยู่หลัง Symphysis pubis และติดกับผนังด้านหน้าของช่องคลอด(vagina)
Parenchyma of kideney
เนื้อไตทางส่วน cortex และ medulla เรียกว่า parenchyma of kidney
Parenchyma of kidney ประกอบด้วย uriniferous tubule
Uriniferous tubule
ประกอบด้วย 2 พวก คือ
Nephrons
Collecting tubules
1.Nephrons
ชนิดของ nephrons
1.Cortical nephron มีrenal corpuscle อยู่ที่cortex,Henle’s loopยื่นมาถึง medulla พบประมาณ85%
2.juxtamedullary nephronมี renal corpuscle corticomedullary อยู่ที่iunction,Henle’s loop ยื่นมาถึงmedulla พบประมาณ 15%
ส่วนประกอบของ Nephrons
ทำหน้าที่ในการสร้างน้ำปัสสาวะ และส่งผ่านเข้ากรวยไต ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1.Renal corpuscles
1.1Bowman’s capsule
2.2Glomerulus
2.Renal tubules
2.1Proximal tubule
2.2Henle’s loop
2.3Distal tubule
1.Renal corpuscle
เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการกรอบ(Filtering unit)อยู่ในเนื้อไตส่วน cortex ประกอบด้วย
1.1Bowman’s capsule ทำหน้าที่รองรับ glomerulus และของเสียที่กรองได้
1.2Glomerulus กลุ่มของเส้นเลือดฝอย (capillaries)
Vascular pole เป็นทางเข้าออกของหลอดเลือด Afferent และ Efferent arteriole จาก glonmerulus
Urinary pole เป็นทางติดต่อกับ proximal convoluted tubule
1.1Bowman’s capsule
Bowman’s capsule ประกอบด้วยผนัง 2 ชั้น คือ
Parietal layer จะต่อเนื่องไปกับ proximal tublue
Visceral layer มีเซลล์พิเศษชื่อ podocyte
โครงสร้าง Juxtaglomedullar apparatus( JGA)
เป็นโครงสร้างที่ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนรีนอนโดยมีความเกี่ยวข้องกับ
1.ควบคุมเลือดที่เข้ามาที่ไต (renal blood flow,(RBF)
2.ควบคุมอัตราการกรอง(glomerular filtration rate,GFR)
ส่วนประกอบของ juxtaglomerular apparatus
2.Juxtaglomerular cell
3.Glomerular mesangial cells
1.Macula densa
เส้นเลือดที่มาไต(Blood supply)
เป็น renal artery ทั้งข้างซ้ายและขวาที่แตกแขนงมาจาก abdominal aorta
เส้นประสาทที่มาไต (Nerve supply)
Renal sympathetic plexus
Sympathetic fibers from T10-L2 (hypogastric plexus)
Parasympathetic fibers from S 2-4 (pelvic splanchic nerve)
1.2 Glomerulus
ประกอบด้วย
1.2.3 Glomerular capillary
1.2.2 Podocytes
1.2.3 Mesangial cells
1.2.1 Glomerular capillary
ประกอบด้วย endothelial cells บุอยู่ภายในของผนังหลอดเลือดฝอยที่มีรูขนาด 10-100 นาโนเมตร
1.2.2 Podocytes
Podocytes คือ modified epithelial cells ของ visceral layer
พบ filtration slit กว้าง 20-40 นาโนเมตร และมีเนื้อเยื่อกั้น เรียก slit diaphragm
1.2.3. Mesagial cells
Mesangial cells พบอยู่ระหว่าง capillary ดังนั้นจึงเปรียบเสมือนแกนของ glomerulus โดยเชื่อมเส้นเลือดแดงฝอยให้รวมเป็นกลุ่ม
2.Renal tubules
ประกอบด้วย
2.1Proximal convoluted tubule
2.2 Loop of Henle
Descending thick limb of Henle’s loop
Descending thin limb of Henle’s loop
Ascending thin limb of Henle’s loop
Ascending thick limb of Henle’s loop
2.3 Distal convoluted tubule
2.1 หลอดไตส่วนต้น(Proximal convoluted tubule:PCT)
เป็นหลอดไตส่วนแรกที่ต่อออกจาก parietal layer of bowman’s capsule เป็นท่อขดไปมา
ทำหน้าที่ ดูดซึมกลับจากน้ำเลือดที่กรองที่ผ่านจากโกลเมอรูลัสและสารอื่น
2.2 ห่วงหลอดไต ( Loop of Henle :ท่อขาลง,ท่อขาลง)
อยู่ในเนื้อไต ประกอบด้วย
1.ท่อตัวยูขาลง(descending limb)
2.ท่อตัวยูขาขึ้น (ascending limb)
หน้าที่
สามารถดูดซึมโซเดียมอิออนโพแทสเซียมและคลอไรด์อิออนกลับโดยทั่วไปของเหลวที่อยู่ในส่วนนี้จะเป็นของเหลวที่มีความเข้มข้นมากที่สุดในหลอดไต
2.3หลอดไตส่วนปลาย (Distal convoluted tubule:DCT)
เป็นท่อน้ำปัสสาวะไหลไปยังท่อไตรวม(Collecting tubule)และส่งออกไปยัง Calyx ของไต
ทำหน้าที่
สามารถดูดซึมน้ำกลับได้ประมาณ 10เปอร์เซ็น และมีการดูดซึมโซเดียมอิออนและคลอไรด์อิออนได้บ้างรวมทั้งสามารถหลั่งหรือขับสารต่างๆกลับเข้าสู่ท่อไตได้ เช่น แอมโมเนียมอิออน ไฮโดรเจนอิออน และโพแตสเซียมอิออน
2.หลอดไตรวม (Collecting duct)
เป็นท่อมีขนาดใหญ่ มีส่วนปลายของหลอดไต ส่วนปลาย (distal convoluted tubule ) หลายๆท่อมาเปิดเข้า
หน้าที่
ทำให้น้ำปัสสาวะเข้มข้น ภายใต้การควบคุมของ Antidiuretic hormone ( ADH)
เส้นเลือดที่มาไต(Blood supply)
เป็น renal artery ทั้งข้างซ้ายและขวาที่แตกแขนงมาจาก abdominal aorta
เส้นประสาทที่มาไต(Nerve supply)
Renal sympathetic plexus.
Sympathetic fibers from T-10-L2 (hypogastric plexus)
Parasympathetic fibers from S2-4 (pelvic splanchnic nerve