Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลไกการเกิดปฏิกิริยา - Coggle Diagram
กลไกการเกิดปฏิกิริยา
ความหมาย
บางปฎิกิริยา สารตั้งต้น ชนกันเพียงขั้นตอนเดียวก็ได้สารผลิตภัณฑ์
ปฏิกิริยาส่วนมาก มักจะต้องชนกันหลายขั้นตอนจึงจะได้สารผลิตภัณฑ์
ตามทฤษฎีการชน สารผลิตภัณฑ์เกิดจากการชนกันของสารตั้งต้น
ตัวอย่างปฏิกิริยาของโบรมีน กับ ไนตริกออกไซด์
ปฏิกิริยามูลฐาน
ปฏิกิริยามูลฐานทั้งหมดที่แสดงลำกับขั้นของการเกิดปฏิกิริยาก็คือกลไกของปฏิกิริยา
โมเลกุราลิตี ของปฏิกิริยามูลฐาน
จำนวนโมเลกุลของสารตั้งต้นที่จำเป็นที่จะใช้ในการชนเพื่อทำให้เกิดปฏิกิริยา
ปฏิกิริยามูลฐานหรือปฏิกิริยาย่อยเกิดขึ้นจากการชนกันของสารตั้งต้นเพียงครั้งเดียว
ขั้นกำหนดอัตรา
ทำการทดลองเพื่อหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา
นำข้อมูลที่ได้มาหาค่าคงที่อัตรา อันดับปฏิกิริยา และกฎอัตรา
เขียนสมมติฐาน
กระบวนการ
กระบวนการแบบ 1 โมเลกุล
A -> (P) ผลิตภัณฑ์
จะได้กฎอัตราอันดับ 1 สมการ
rate = k[A]
กระบวนการแบบ 2 โมเลกุล
A + A -> P หรือ 2A -> P
rate = k[A]^2
ตัวอย่างกฎอัตราสำหรับปฏิกิริยามูลฐาน
ตัวอย่าง