Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อริยสัจ 4 - Coggle Diagram
อริยสัจ 4
สมุทัย
-
-
หลักกรรม
คติวิบัติ คือ เกิดอยู่ในภพ ถิ่น หรือประเทศที่ไม่เจริญ - อุปธวิบัติ คือ เกิดมามีร่างกายพิกลพิการ อ่อนแอ ไม่สง่างาม - กาลวิบัติ คือ เกิดอยู่ในสมัยที่บ้านเมืองมีทุกข์เข็ญ ยกย่องคนชั่ว บีบคั่นคนดี ไม่มีศีลธรรม - ปโยควิบัติ คือ การทำงานไม่ครบถ้วนไม่ต่อเนื่อง ทำครึ่งๆกลางๆ ไม่ตรงกับความถนัดหรือความสามารถของตน
นิโรธ
ความดับทุกข์ การเข้าใจความจริงของชีวิตนำไปสู่การดับความเศร้า โศกทั้งมวล อันยังให้เกิดความสงบและความเบิกบาน
สามิสสุข
ความสุขทางกายที่เกิดจากวัตถุภายนอก เรียกว่า กามสุข คือความสุขที่เกิดประสาทสัมผัสทั้ง 5 (ตา หู จมูก ลิ้น กาย) ทำให้เกิดความพอใจ เป็นความสุขของคนทั่วไป ที่เกิดจากการกระทำความดีในด้านต่างๆ
นิรามิสสุข
ความสุขที่ไม่อิงอาศัยวัตถุภายนอก เรียกว่า ความสุขทางใจ ความสุขประเภทนี้มีตั้งแต่ขั้นต่ำสุดไปจนถึงสูงสุด
-
ทุกข์
การมีอยู่ของทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ และตายล้วนเป็นทุกข์ ความเศร้าโศก ความโกรธ ความอิจฉาริษยา ความวิตกกังวล ความกลัวและความผิดหวังล้วนเป็น ทุกข์
การพลัดพรากจากของที่รักก็เป็นทุกข์ ความเกลียดก็เป็นทุกข์ ความอยาก ความยึดมั่นถือมั่น ความยึดติดในขันธ์ทั้ง 5 ล้วนเป็นทุกข์
ขันธ์
-
-
สัญญา
ความจำได้หมายรู้ในสิ่งต่างๆ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ที่เกิดจากตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ได้สัมผัสกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และนึกคิด
วิญญาณ
การรับรู้อารมณ์ (ความรู้สึก)ของใจผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 การรับรู้อารมณ์ทางตา หรือ การเห็น เรียกว่า จักขุวิญญาณ การรับรู้อารมณ์ทางหู หรือ การได้ยิน เรียกว่า โสตวิญญาณ การรับรู้อารมณ์ทางจมูก หรือ การได้กลิ่น เรียกว่า ฆานวิญญาณ การรับรู้อารมณ์ทางลิ้น หรือ การลิ้มรส เรียกว่า ชิวหาวิญญาณ การรับรู้อารมณ์ทางกาย หรือ การสัมผัสทางกาย เรียกว่า กายวิญญาณ การรับรู้อารมณ์ทางใจ หรือ การคิด เรียกว่า มโนวิญญาณ
มรรค
หนทางนำไปสู่ความดับทุกข์ อันได้แก่ อริยมรรค 8 ซึ่งได้รับการหล่อ เลี้ยงด้วยการดำรงชีวิตอย่างมีสติความมีสตินำไปสู่สมาธิและปัญญาซึ่งจะปลดปล่อย
ให้พ้นจากความทุกข์และความโศกเศร้าทั้งมวลอันจะนำไปสู่ความศานติและ ความเบิกบาน พระพุทธองค์ได้ทรงเมตตานำทางพวกเราไปตามหนทางแห่งความรู้แจ้งนี้