Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาล ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย, image, image,…
แนวคิด หลักการการพยาบาล
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวทางปฏิบัติ Fast track
อาศัยหลักการ
การจัดทำควรเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ
จัดทำแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย
จัดทำแนวปฏิบัติ ลำดับการปฏิบัติ
จัดทำรายการตรวจสอบ
ฝึกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้และสามารถดำเนินการตามระบบทางด่วน
แผนการปฏิบัติต้องเน้นย้ำเวลาเป็นสำคัญ
กำหนด clinical indicator
บทบาทพยาบาล
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
Franco-German Model (FGM)
ให้
เวลานาน
ทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วย
ส่งหน่วยเฉพาะทาง
องค์การสาธารณสุข
จำนวนน้อยที่นำส่งโรงพยาบาล
Anglo-American Model (AAM)
เกิดเหตุสั้น
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแล
ส่งตรงห้อง
ฉุกเฉิน
องค์การความ
ปลอดภัยสาธารณะ
ส่วนใหญ่ได้รับการ
นำส่งไปยังโรงพยาบาล
การเจ็บป่วยวิกฤต
Crisis care เพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยการรักษา
Critical Care เพื่อดำรงรักษาชีวิต
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไป
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้
เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การบันทึกเหตุการณ์อาการ
และการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
เพื่อช่วยชีวิต
การส่งต่อรักษา
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของ
สภาการพยาบาล พ.ศ. 2552
ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่กำลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
ค้นหาสาเหตุและ/หรือปัญหาที่ทำให้กิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ แล้วดำเนินการแก้ไข
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสำคัญของร่างกายให้คงไว้
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ประคับประคองจิตใจและอารมณUของผู้ป่วยและญาติ
การพยาบาลสาธารณภัย
การจัดระดับความรุนแรง
ระดับที่ 2 : สาธารณภัยขนาดกลาง หน่วยงานสาธารณสุขระดับอำเภอไม่สามารถจัดการ
ได้ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ระดับที่ 3 : สาธารณภัยขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่ จำเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ ต้องอาศัยการสนับสนุนจากหน่วยงานหลายส่วนราชการ ภายในเขตจังหวัด /จังหวัดใกล้เคียง และระดับเขต
ระดับที่ 1 : สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก ซึ่งสำนักงานสาธารณสุขในระดับ
อำเภอสามารถจัดการได้ตามลำพัง
ความรุนแรงระดับที่ 4 : สาธารณภัยขนาดใหญ; ที่มีผลกระทบรุนแรงยิ่ง นายกรัฐมนตรีหรือรอง
นายกรัฐมนตรี ที่นายก ฯ มอบหมายให้เป็นผู้ควบคุมสถานการณ์
หลักการ
การบรรเทาภัย (Mitigation)
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
โดยยึดตามหลัก
CSCATT
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
พยาบาลกับการจัดการสาธารณภัย
หลักการบริหารจัดการในที่
เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
รักษาผู้บาดเจ็บตาม Disaster paradigm
ลักษณะของการปฏิบัติการ
ต้องนำความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉินมาประยุกต์
มุ่งเน้นการพยาบาล ป้องกัน การฟื้นฟู
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพ
คุณสมบัติพยาบาล
มีความรู้ทางการพยาบาล
มีความรู้ด้านสาธารณภัย
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี
มีทักษะในการสื่อสาร
มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์
Trauma life support
Trauma care system
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
(Prehospital care)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ
(Rehabilitation & transfer)
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
Primary Survey
A Airway maintenance with cervical spine protection
การเปิดทางเดินหายใจ
Head-tilt Chin-lift maneuver
jaw-thrust maneuver
modified jaw-thrust maneuver
Triple airway maneuver
B Breathing and ventilation
C Circulation with hemorrhagic control
D Disability (Neurologic Status)
E Exposure / environmental control
Resuscitation
เป็นการช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตที่อาจทำให้เสียชีวิตได้
Secondary survey
เป็นการตรวจร่างกายอย่างละเอียดหลังจากผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตแล้ว
Definitive care
เป็นการรักษาหลังจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นแล้ว