Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย ดาวน์โหลด…
บทที่ 5 แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
บทบาทพยาบาลกับ Fast track
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภารวม
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน (Fast track)
Care delivery
Monitoring: early warning signs & E-response
Investigation
Risk management (general & clinical)
Flow (purpose-process-performance)
Co-ordination, Communication, Handover
Activate system
Inter & Intra transportation
Triage/ Specific triage/ Assessment
Evaluation, output, outcome
EMS (accessibility)
Improvement, Innovation, Integration
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บTrauma life support
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ (Rehabilitation & transfer)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
Resuscitation
เป็นการช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตที่อาจทำให้เสียชีวิตได้
Secondary survey
การตรวจร่างกายอย่างละเอียดหลังจากผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตแล้ว
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
B Breathing and ventilation
C Circulation with hemorrhagic control
A Airway maintenance with cervical spine protection
D Disability (Neurologic Status)
E Exposure / environmental control
Definitive care
การรักษาหลังจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นแล้ว
แนวทางปฏิบัติในระบบทางด่วน (Fast track) สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
จัดทำรายการตรวจสอบ (check list) สำหรับการลงข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลต่างๆ
ฝึกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้และสามารถดำเนินการตามระบบทางด่วน
จัดทำแนวปฏิบัติ ลำดับการปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงประตูโรงพยาบาล หรือ ห้องฉุกเฉิน พร้อมกำหนดหน้าที่ต่างๆของผู้ที่เกี่ยวข้อง
แผนการปฏิบัติต้องเน้นย้ำเวลาเป็นสำคัญ ต้องมีแผนปฏิบัติการรองรับเพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ตามมาตรฐานที่กำหนด
จัดทำแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย พร้อมกำหนดลักษณะผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วนที่เข้าระบบทางด่วน
กำหนด clinical indicator เพื่อการติดตามและประเมินผลในแต่ละขั้นตอนของระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
การจัดทำควรเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ ประกอบด้วยแพทย์พยาบาล เจ้าหน้าที่ในส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องมาร่วมดำเนินการ
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
แนวคิดหลักของรูปแบบการแพทย์ฉุกเฉิน
Franco-German Model (FGM)
แนวคิดการเชื่อมต่อองค์กร
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นส่วนหนึ่งขององค์การสาธารณสุข
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
Ambulance, Helicopter และ Coastal ambulance
ปลายทาง
ลำเลียงผู้ป่วยส่งหน่วยเฉพาะทาง
องค์การที่เกี่ยวข้อง
ภายใต้บริการจะเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพ
บุคลากรผู้ให้บริการ/การดูแล
แพทย์ให้การดูแลโดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วย อาจนำเทคโนโลยีรวมไปให้การดูแลในขั้นสูง
ค่าใช้จ่าย
ต่ำกว่า AAM
ปรัชญา/จุดประสงค์หลัก
“Stay and Stabilize” ให้เวลานานในการดูแลอาการในสถานที่เกิดเหตุและนำการรักษาไปยังสถานที่เกิดเหตุ
นำบริการโรงพยาบาลมาหาผู้ป่วย
จำนวนผู้ป่วย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการรับการรักษา ณ จุดเกิดเหตุ
เพียงจำนวนน้อยที่นำส่งโรงพยาบาล
ปีเริ่มต้น
1970s
ตัวอย่างประเทศ
เยอรมนี ฝรั่งเศส กรีซ มอลต้า ออสเตรีย
Anglo-American Model (AAM)
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
รถ Ambulance
ใช้ Aero-medical หรือ Coastal ambulance
ปลายทาง
ลำเลียงผ้ปู่วยส่งตรงห้องฉุกเฉิน
องค์การที่เกี่ยวข้อง
ตำรวจ สถานีดับเพลิง
บุคลากรผู้ให้บริการ/การดูแล
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแลโดยมีแพทย์กำกับ
ค่าใช้จ่าย
สูงกว่า FGM
ปรัชญา/จุดประสงค์หลัก
“Scoop and run” เวลาสำหรับการประคับประคองอาการในสถานที่เกิดเหตุสั้นและนำผู้ป่วยส่งยังสถานพยาบาลให้เร็วที่สุด
นำผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด
จำนวนผู้ป่วย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการนำส่งไปยังโรงพยาบาล
จำนวนน้อยที่ได้รับการดูแล ณ จุดเกิดเหตุ
ปีเริ่มต้น
1970s
ตัวอย่างประเทศ
สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย
แนวคิดการเชื่อมต่อองค์กร
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นส่วนหนึ่งขององค์การความปลอดภัยสาธารณะ
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู่ป่วยภาวะฉุกเฉิน
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
เพื่อช่วยชีวิต
การส่งต่อรักษา
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาล พ.ศ. 2552
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสำคัญของร่างกายให้คงไว้
ค้นหาสาเหตุ หรือปัญหาที่ทำให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ แล้วดำเนินการแก้ไข
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่กำลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย