Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สงครามโลกครั้งที่ 2 (World War II), นาย ศศิณ หมื่นโสฬส ม 6/1 เลขที่ 2 -…
สงครามโลกครั้งที่ 2 (World War II)
ผลกระทบที่เกิด
ผู้พ่ายแพ้สงคราม (ฝ่ายอักษะ)
เยอรมนี
ถูกยึดครองโดยประเทศมหาอำนาจพันธมิตร
ถูกแบ่งเป็น 4 ส่วน ภายใต้การปกครองของอเมริกา โซเวียต อังกฤษ และฝรั่งเศส
ญี่ปุ่น
อเมริกาได้เข้าควบคลุมญี่ปุ่น
โดยนายพลดักลาส แมคอาเธอร์ เป็นผู้ให้ญี่ปุ่นลงชื่อสัญญาพ่ายแพ้แก่ฝ่ายสัมพันธมิตร
อเมริกาห้ามญี่ปุ่นมีกองกำลังทหาร
จุดเริ่มต้นของสงครามเย็น
สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ก้าวขึ้นมาเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ
เป็นการเริ่มต้นเข้าสู่ยุคสงครามขัดแย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างเสรีประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์
การเรียกร้องเอกราชจากประเทศอณานิคม
ประเทศอณานิคมในทวีปแอฟริกาและเอเชียเรียกร้องเอกราชจากประเทศมหาอำนาจ ซึ่งกำลังอ่อนแอจากสงคราม
จึงต้องยอมให้เอกราชในที่สุด
ก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 จะสิ้นสุดลง ประเทศมหาอำนาจของฝ่ายสัมพันธมิตรทั้งอังกฤษ และแเมริกา ได้ร่วมลงนามในกฏบัตะแอตแลนติก
ก่อนที่โซเวียตและจีนจะเข้าร่วม
ก่อนกลายมาเป็นองค์การสหประชาชาติ (United Nations)
ทำหน้าที่รักษาสันติภาพของโลกแทนองค์การสันนิบาตชาต
ความเสียหายด้านสังคมและประชากร
พลเรือนทั้ง 2 ฝ่ายเสียชียวิตรวมประมาณ 40,000,000 คน
สงครามโลกครั้งที่ 2 ถือว่าเป็นสงครามที่สร้างคสามเสียหายยี่งใหญ่ที่สุดในปัวัติศาสตร์
ทหารทั้ง 2 ฝ่ายเสียชีวิตรวมประมาณ 22,000,000 คน
เหตูการณ์สำคัญ
จุดเริ่มต้นของสงคราม
วันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1939 เยอรมนีบุกโปรแลน
ฝรั่งเศสและอังกฤษอยู่ฝ่ายโปรแลนด์ จึงประกาศสงครามกับเยอรมนี
เยอรมนีพิชิตยุโยป
ช่วงระหว่างปี 1939-1942 เยอรมนีทำศึกชนะ
สามารถครอบครองยุโรปตะวันตกได้เกือบทั้งหมด ยกเว้นสหราชอาณาจักร
สงครามขยายตัวในเอเชียและทวีปอื่น
ญี่ปุ่นบุกยึดครองดินแดนในเอเชีย
รวมถึงบุกโจมฐานทับเรือของอเมริกาที่เพิร์ล ฮาเบอร์ เมื่อปี 1941
ทำให้สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงครามทันที
สงครามโลกครั้งที่ 2 แทบจะขยายไปทูกทวีปทั่วโลก
วัน D-Day
วันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1944 กองกำลังสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่ชายหาดนอร์มังดี ประเทศฝรั่งเศส
เหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็นชัยชนะครั้งสำครั้งของสัมพันธมิตรและเป็นการปลดปล่อยยุโรปจากการยึดครองของเยอรมนี
สงครามในยุโรปสิ้นสุดลง
กองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตเข้ายึดกรุงเบอร์ลินได้
วันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1945 เยอรมนียอมจำนนอย่างไร้เงื่อนไข
สงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง
สหรัฐอเมริกาใช้ระเบิดนิวเคลียร์โจมตีญี่ปุ่นที่ฮิโรชิม่า และนางาซากิ
วีนที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1945 สมเด็จจักพรรดิฮิโรฮิโตะแห่งญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้สงครามอย่างไร้เงื่อนไข
สาเหตุความขัดแย้ง
ลัทธิชาตินิยม
เบนิโต้ มุโสลินี (ผู้นำฟาสซิสต์ อิตาลี)
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (ผู้นำนาซี เยอรมัน)
พยายามปลุกกระแสชาตินิยม
เพื่อสร้างชาติของตัวเองให้ยิ่งใหญ่เนื้อชาติอื่น ๆ
ฮิเดกิ โตโจ (ผู้บัญชาการกองทัพจักวรรดิญี่ปุ่น)
ความขัดแย้งของอุดมการณ์ทางการเมือง
แนวคิดของกลุ่มประเทศชาตินิยมต่อต้านแนวคิดเสรีนิยม
ความไม่เป็ธรรมของสนธิสัญญาแวร์ซาย
เป็นสัญยาที่เยอรมนีเสียเปรียบอย่างมาก
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำเยอรมนีล้มเลิกสัญญานี้
ประเทศมหาอำนาจแบ่งเป็น 2 ฝ่าย
ฝ่ายสัมพันธมิตร (Allies)
กลุ่มประเทศเสรีนิยมและประชาธิปไตย (ยกเว้นโซเวียต)
ดำเนินนโยบายประนีประนอม รักษาสันติภาพเป็นหลัก
สมาชิก
สหราชอาณาจักร
ฝรั่งเศส
สหภาพโซเวียต
สหรัฐอเมริกา
ฝ่ายอักษะ (Axis)
กลุ่มประเทศเผด็จการทางทหารและชาตินิยม
ดำเนินนโยบายรุกรานและขยายอำนาจเพื่อผลประโยขน์ของประเทศตน
สมาชิก
เยอรมนี
ญี่ปุ่น
อิตาลี
ความล้มเหลวขององค์กรสันนิบาตชาติ
องค์กรสันนิบาตชาติ (Leauge of Nations) ตั้งขึ้นเพื่อรักษาสันติภาพหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 แต่ล้มเหลว
สาเหตุ
ไม่มีกองกำลังทหารประจำ
ทำให้ประสมาชิกไม่กลัว
สหรัฐอเมริกาชาติมหาอำนาจไม่ได้เข้าเป้นสมาชิกแม้จะเป็นผู้ก่อตั้ง
ทำให้องค์กรขาดความน่าเชื้อถือ
ประเทศสมาชิกเลยฝ่าฝืนกฏอย่างไม่เกร่งใจ
นาย ศศิณ หมื่นโสฬส ม 6/1 เลขที่ 2