Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ความหมาย
อุบัติเหตุ (Accident)คือ อุบัติการณ์ซึ่งเกิดขึ้น โดยไม่คาดหมายมาก่อน ทําให้เกิดการบาดเจ็บตายและการสูญเสียทรัพยUสินโดยที่เราไม่ต้องการ ถ้าอุบัติเหตุมีขนาดใหญ่ เรียกว่าDisaster
อุบัติภัยจากการทํางาน (Occupational Accident)
อุบัติภัยภายในบ้าน (Homeor Domestic Accident)
อุบัติภัยในสาธารณสถาน (Public Accident)
อุบัติภัยจากการจราจร(Traffic Accident)
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน หมายถึง ผู้ที่ทีอาการหนักรุนแรงต้องการการดูแลจากเจ้าหน้าที่ที่มีความชํานาญเฉพาะทาง
ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
ความดันโลหิตSystolicต่ํากว่า80มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว่า 130มม.ปรอท
มือเท้าซีดเย็น เหงื่อออกมาก
คลําชีพจรไม่ได้ หรือชีพจรช้ากว่า 40หรือเร็วกว่า30 ครั้ง/นาที
อุณหภูมิของร่างกายต่ํากว่า35 เซลเซียส หรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
ถูกพิษจากสัตว์ เช่น งู หรือสารพิษชนิดต่างๆ
หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า30ครั้งต่อนาที หายใจลําบากหรือหอบเหนื่อย
ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
การเจ็บป่วยวิกฤตหมายความถึง การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทําให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
ผู้ป่วยวิกฤตมีลักษณะดังนี้
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้ เช่น ผู้ป่วยที่หมดสติ ผู้ป่วยที่มีระบบการหายใจล้มเหลวเป็นต้น หากไม่ได้รับการรักษาผู้ป่วยจะเสียชีวิตในอัตราสูง
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา
ผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัย
กลุ่มอาการหนัก ต้องหามนอนหรือนั่งมาอาการแสดงยังคลุมเครือต้องใช้การตรวจอย่างละเอียด
กลุ่มอาการหนักมาก หรือสาหัสต้องการการรักษาโดยด่วนหรือช่วยชีวิตทันทีกลุ่มผู้ป่วยเสียชีวิต เป็นกลุ่มที่หมดหวังในการรักษา
กลุ่มอาการไม่รุนแรง หากผู้ป่วยเดินได้อาจถือว่าอาการไม่หนัก
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response) ต้องมีการดําเนินการทันเมื่อเกิดภัย โดยยึดตามหลัก CSCATT
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ต้องจัดให้มีระบบเฝ้าระวังภายใน 5 วันหลังภัยพิบัติ
การเตรียมความพร้อม (Preparedness) : การรองรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน เป็นระยะต่อเนื่องจากการบรรเทาภัย
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery) เปgนระยะสุดท้ายในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
การบรรเทาภัย (Mitigation) : กิจกรรมต่าง ๆ ที่ดําเนินการเพื่อลดหรือกําจัดโอกาสในการเกิดหรือลดผลกระทบของการเกิดภัยพิบัติ
พยาบาลกับการจัดการสาธารณภัย
การพยาบาลสาธารณภัย (Disaster Nursing) เป็นการพยาบาลที่ต้องนําความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉิน
การพยาบาลสาธารณภัย
ประเภทของภัยพิบัติ
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ (Natural Disaster)ได้แก่ เกิดแบบฉับพลัน และเกิดแบบค่อยเป็นค่อยไป
ภัยที่เกิดจากมนุษย์(Man-made Disaster)ได้แก่ เกิดอย่างจงใจและเกิดอย่างไม่จงใจ
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข
ความรุนแรงระดับที่ 2 : สาธารณภัยขนาดกลาง หน่วยงานสาธารณสุขระดับอําเภอไม่สามารถจัดการได้ ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในการจัดการเข้าระงับภัย
ความรุนแรงระดับที่ 3 : สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่จําเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ
ความรุนแรงระดับที่ 1 : สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก ซึ่งสํานักงานสาธารณสุขในระดับอําเภอสามารถจัดการได้ตามลําพัง
ความรุนแรงระดับที่ 4 : สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงยิ่ง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster)
ภัย (Hazard) หมายถึง เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ใดๆที่สามารถที่ทําให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ความเสียหายต่อทรัพย์สินความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม
สาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster) หมายถึง ภัยที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากการกระทําของมนุษย์แล้วก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต
ภัยสาธารณะ ประกอบด้วย
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ
ภัยที่เกิดจากคนทํา ได้แก่ สาเคมีรั่วไหล รถชน ตึกถล่ม
ภัยทางอากาศ ได้แก่ ปล้นเครื่องบิน
สาธารณภัย ได้แก่ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัยภัย ภัยแล้ง
การก่อวินาศภัย ได้แก่ ก่อการร้าย กราดยิง วางระเบิด
อุบัติภัย
อุบัติเหตุกลุ่มชน/อุบัติภัยหมู่(MASS CASSUALTIES) หมายถึง อุบัติเหตุที่เกิดกับคนจํานวนมาก ได้รับการเจ็บป่วยจํานวนมาก
มีการทําลายของทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรที่มีอยู่ในภาวะปกติไม่เพียงพอที่จะนํามาใช้ควบคู่สถานการณ์
เกิดการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยของประชาชนจํานวนมาก
ระบบและกลไกปกติของสังคมถูกทําลายหรือไม่เพียงพอที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
ประเภทของอุบัติภัยหมู่แบ่งตามขีดความสามารถของสถานพยาบาล
Multiple casualtiesทั้งจํานวนและความรุนแรงของผู้ป่วยไม่เกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะคุกคามต่อชีวิต(life Threatening) จะได้รับการรักษาก่อน
Mass casualtiesทั้งจํานวนและความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลและทีมผู้รักษาผู้ป่วยที่มีโอกาสรอดชีวิตมากที่สุดโดยใช้เวลาและทรัพยากรน้อยที่สุดจะได้รับการรักษาก่อน
ภัย (Hazard)หมายถึง เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ใดๆที่สามารถที่ทําให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ความเสียหายต่อทรัพย์สินความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม
ภัยพิบัติ/สาธารณภัย (Disaster)ตามนิยามขององค์การอนามัยโลก (WHO) และThe Joint Commission on Accreditation of Healthcare Organization (JCAHO)
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
A –Assess Hazards คือ การประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S –Support คือ การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
S –Safety and Security คือ การประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
T –Triage/Treatment คือ การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย โดยการใช้หลักการของMASS Triage Model( Move, Assess, Sort และ Send) เพื่อคัดแยกผู้ป่วยแบ่งเป็นกลุ่มตาม ID-me (Immediate, Delayed,Minimal, Expectant)ได้อย่างรวดเร็ว
I -Incident command คือ ระบบการบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
E –Evacuation คือ การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
D –Detection คือ การประเมินสถานการณ์ว่าเกินกําลังหรือไม่
R –Recovery คือ การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาลพ.ศ.2552
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสําคัญของร่างกายให้คงไว้
ค้นหาสาเหตุและ/หรือปัญหาที่ทําให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ แล้วดําเนินการแก้ไข
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ดําเนินการแก้ไขปัญหาที่กําลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์สาธารณภัย
ต้องนําความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉินมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติ ทั้งในระยะก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัย
เป็นการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ
มุ่งเน้นด้านการพยาบาลฉุกเฉินแก่ผู้ประสบภัยจํานวนมากในขณะเกิดภัย
การฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ประสบภัยและญาติ
ป้องกันและลดความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากสาธารณภัย โดยใช้องค์ความรู้และทักษะทางการพยาบาลอย่างเป็นระบบ
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ เพื่อเป็นประโยชน์ในการรักษาต่อไป
การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้ว ต้องรีบเคลื่อนย้ายนําส่งโรงพยาบาล เพื่อทําการรักษาต่อทันที พร้อมทั้งข้อมูลผู้ป่วย และข้อมูลการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
หลักในการพยาบาล
ให้การรักษาพยาบาลภายใต้นโยบายของโรงพยาบาล และภายในเขตการรับรองของกฎหมาย โดยคงไว้ซึ่งหน้าที่ของอวัยวะสําคัญชีวิตและสภาพร่างกายของผู้ป่วย
ให้การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
ทําการคัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยํา
ให้การดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ ซึ่งจะเกิดความกลัวความวิตกกังวลต่อความเจ็บป่วย และมีความคาดหวังต่อการรักษาพยาบาล จึงต้องอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบถึงปัญหาการเจ็บป่วย การพยาบาลที่จะได้รับ และแนวทางการรักษาต่อเนื่อง ซึ่งจะทําให้เกิดความร่วมมือในการให้การรักษาพยาบาล
มีการซักประวัติการเจ็บป่วยและอาการสําคัญอย่างละเอียด ในเวลาที่รวดเร็ว กรณีผู้ป่วยอุบัติเหตุต้องซักประวัติการช่วยเหลือเบื้องต้น วิธีการ ระยะเวลาในการนําส่งเพิ่มเติม
มีการนัดหมายผู้ป่วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษาต่อเนื่อง
มีหลักในการอุ้มยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากยานพาหนะไปยังห้องพยาบาล อย่างนุ่มนวลรวดเร็วปลอดภัย
มีการส่งต่อเพื่อการรักษาทั้งในหอผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยหนัก และภายนอกโรงพยาบาล เพื่อรับการรักษาในสถานพยาบาลอื่น ในระหว่างการส่งต่อผู้ป่วยพยาบาล จะต้องมีการเตรียมพร้อมในการช่วยเหลือผู้ป่วย หากเกิดปัญหาในระหว่างการเดินทาง และต้องจัดเจ้าหน้าที่ที่สามารถให้การช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัย
เพื่อช่วยชีวิต
คุณสมบัติพยาบาลสําหรับจัดการสาธารณภัย
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี มีความเป็นผู้นํา และสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มีทักษะในการสื่อสาร และการบันทึกข้อมูลต่างๆได้อย่างถูกต้องครบถ้วนชัดเจน
มีความรู้ด้านสาธารณภัย มีความสามารถในการประเมินสถานการณ์และคาดการณ์ถึงปัญหาสุขภาพที่จะเกิดจากสาธารณภัยชนิดต่างๆ รวมทั้งมีความสามารถให้การพยาบาลได้ครอบคลุมทุกระยะของการเกิดภัย
มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์
มีความรู้ทางการพยาบาลและมีประสบการณ์การปฏิบัติงานการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินและวิกฤต และด้านการรักษาโรคเบื้องต้นได้
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สําหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
จัดทํารายการตรวจสอบ (check list) สําหรับการลงข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลต่างๆ
ฝึกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้และสามารถดําเนินการตามระบบทางด่วน
จัดทําแนวปฏิบัติ ลําดับการปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงประตูโรงพยาบาล หรือ ห้องฉุกเฉิน พร้อมกําหนดหน้าที่ต่างๆของผู้ที่เกี่ยวข้อง
แผนการปฏิบัติต้องเน้นย้ําเวลาเป็นสําคัญ ต้องมีแผนปฏิบัติการรองรับเพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ตามมาตรฐานที่กําหนด
จัดทําแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย พร้อมกําหนดลักษณะผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วนที่เข้าระบบทางด่วน
กําหนด clinical indicator เพื่อการติดตามและประเมินผลในแต่ละขั้นตอนของระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สําหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
การจัดทําควรเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ ประกอบด้วยแพทย์พยาบาล เจ้าหน้าที่ในสวนต่างๆที่เกี่ยวข้องมาร่วมดําเนินการ
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
Primary survey: ขั้นตอนและวิธีการ
Breathing and Ventilation
ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
คลํา การเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ
การเปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
Circulation and Hemorrhage control
ระบบหายใจจะพบการหายใจเร็ว และไม่สม่ําเสมอ จาก Acidosis respiration
ระบบทางเดินปัสสาวะระยะแรกปัสสาวะจะลดลงเหลือ 30-50 ml./hr. และ 40 ml./hr.เมื่อเกิดภาวะไตวายปัสสาวะจะออกน้อยกว่า 20 ml./hr.
หัวใจและหลอดเลือด
Pulse จะพบชีพจรเบา เร็ว จากระบบ Sympathetic แต่ระยะท้ายชีพจรจะช้า และไม่สม่ําเสมอเนื่องจากหัวใจจะทํางานลดลง
Capillary filling time จะพบนานกว่า 1-2 วินาที เพื่อทดสอบการไหลเวียนที่หลอดเลือดส่วนปลาย
Blood pressureมีความสําคัญเพราะแสดงถึงปริมาณเลือดออกจากหัวใจใน 1 นาที และแรงต้านของหลอดเลือดส่วนปลาย
Central venous pressure เท่ากับ 7-8 cm.H2O
ระบบทางเดินอาหารผู้ป่วยจะกระหายน้ํา น้ําลายน้อยลง ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน ลําไส้บวม และ ไม่ได้ยิน bowel sound
ผิวหนัง ผู้ป่วยจะมีผิวหนังเย็น ชื้น เหงื่อออกมาก cyanosis ยกเว้น septic shock ที่ผิวหนังจะอุ่น สีชมพูในระยะแรก
ภาวะกรดด่างของร่างกายร่างกายจะเกิดการเผาผลาญแบบ anaerobic metabolism จนเกิดภาวะ acidosis metabolic ผู้ป่วยจะมีอาการซึม อ่อนเพลีย งุนงง สับสน ไม่รู้สึกตัว หายใจแบบ Kussmaual
อาการทางระบบประสาท ประกอบด้วย ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการซึม เชื่องช้า สับสนบางราบมีอาการเอะอะ และสุดท้ายจะหมดสติ
Airway maintenance with cervical spine protection
วิธีการเปิดทางเดินหายใจแบบ jaw-thrust maneuver
ใช้มือสองข้างจับมุมขากรรไกรล่างทั้งสองข้าง
ดึงขากรรไกรล่างแล้วยกขึ้นพร้อมกับดันไปข้างหน้าพร้อมกับดันศีรษะให้หงายไปข้างหลัง (jaw-thrust maneuverwith Head-tilt)
ผู้ช่วยฟื้นคืนชีพอยู่เหนือศีรษะผู้ป่วย
กรณีสงสัยมีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอให้ดึงขากรรไกรล่างแล้วยกขึ้นพร้อมกับดันไปข้างหน้าไม่ต้องหงายศีรษะไปข้างหลัง (jaw-thrust maneuverwithout Head-tilt)
วิธีการเปิดทางเดินหายใจแบบ modified jaw-thrust maneuver
ดึงขากรรไกรล่างแล้วยกขึ้นพร้อมกับดันไปข้างหน้าไม่ต้องหงายศีรษะไปข้างหลัง
ใช้นิ้วหัวแม่มือทั้งข้างกดที่ด้านหน้าของกระดูกขากรรไกลล่างบริเวณใต้มุมปาก
ใช้มือสองข้างจับมุมขากรรไกรล่างทั้งสองข้าง
ออกแรงกดให้ปากอ้าออก
ผู้ช่วยฟืนคืนชีพอยู่เหนือศีรษะผู้ป่วย
วิธีการเปิดทางเดินหายใจแบบ Head-tilt Chin-liftmaneuver
ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมืออีกข้างยกกระดูกปลายคางขึ้น
ระวังอย่าให้นิ้วดันส่วนที่เป็นเนื้อใต้คางเพราะจะทําให้ทางเดินหายใจอุดกั้นมากขึ้น
ใช้มือข้างหนึ่งกดลงบนหน้าผากผู้ป่วย
กรณีที่ไม่แน่ใจว่ามีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอให้ใช้วิธีjaw-thrust maneuver, modified jaw thrust
วิธีการเปิดทางเดินหายใจแบบTriple airway maneuver
กรณีไม่มีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอ ปฏิบัติตามวิธีการ
jaw-thrust
open mouth
Head-tilt
กรณีสงสัยมีการบาดเจ็บบริเวณต้นคอปฏิบัติตามวิธีการ
open mouth
ยกเว้นในกรณีฉุกเฉินที่ผู้ป่วยกําลังมีอันตรายแก่ชีวิตให้ปฏิบัติตามลําดับคือ
jaw-thrust
open mouth
Head-tilt
jaw-thrust
Disability: Neurologic Status
ประเมินจากAVPU Scale
V Voice/verbal stimuli หมายถึงผู้บาดเจ็บสามารถตอบสนองต่อเสียงเรียกได้
P Painful stimuliหมายถึงผู้บาดเจ็บตอบสนองเมื่อกระตุ้นด้วยความปวด
A Alertหมายถึง ผู้บาดเจ็บรู้สึกตัวดี สามารถพูดโต้ตอบหรือทําตามคําสั่งได้
U Unresponsive หมายถึงผู้บาดเจ็บไม่มีปฏิกิริยาตอบสนองเลย
Exposure / Environment control
ในขั้นตอนนี้จําเป็นต้องทําการพลิกตะแคงตัวผู้บาดเจ็บแบบท่อนซุง (Log roll)ที่ต้องอาศัยผู้ช่วย 3-4 คนในการจัดให้กระดูกสันหลังอยู่ในแนวตรง เพื่อการตรวจร่างกายและเป็นการป้องกันการได้รับบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง โดยผู7ช;วยคนที่ 1 มีหน7าที่ในการทํา inline immobilization ของศีรษะและคอ ผู้ช่วยคนที่ 2-4 จะอยู่บริเวณลําตัวและเชิงกรานเพื่อป้องกัน bending, rotation
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น ประกอบด้วย
Resuscitation เป็นการช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตที่อาจทําให้เสียชีวิตได้
Secondary surveyเป็นการตรวจร่างกายอย่างละเอียดหลังจากผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตแล้ว
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
C Circulation with hemorrhagic control
D Disability (Neurologic Status)
B Breathing and ventilation
E Exposure / environmental control
A Airway maintenance with cervical spine protection
Definitive care เป็นการรักษาหลังจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นแล้ว
การกู้ชีพ (Resuscitation)
คือ การแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตหรือที่เป็นอันตรายเร่งด่วน โดยการกู้ชีพจะทําหลังจากการประเมิน เป็นลําดับของ ABC และสามารถทําไปพร้อมๆกับการประเมิน
Breathing ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับออกซิเจนเสริมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ ผู้บาดเจ็บควรได้รับออกซิเจนผ่านหน้ากาก (reservoir face mask) ที่เหมาะสมกับหน้าพอดีด้วย flow rate 11 L/min เพื่อให้ได้ปริมาณออกซิเจนที่เพียงพอร่วมกับการติดตามระดับความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด
Circulation การห้ามเลือดเป็นสิ่งจําเป็นอย่างยิ่งในผู้บาดเจ็บโดยทําร่วมกับการให้สารน้ําทดแทน เมื่อทําการเปิดเส้นเลือดแล้วควรเก็บเลือดส่งตรวจเพื่อช่วยในการประเมินความผิดปกติที่เกิดขึ้น การให้สารน้ําในปริมาณมากอาจไม่ได้ทดแทนการห้ามเลือดได้
Airway ภายหลังจากการประเมิน การทําDefinitive airway ในผู้บาดเจ็บที่มีปัญหาการหายใจ สามารถรักษาได้โดยการใส่ท่อช่วยหายใจ และควรกระทําแต่เริ่มต้นหลังจากที่ช่วยหายใจด้วยออกซิเจน หากใส่ไม่ได้ อาจพิจารณาการใส่ท่อด้วยวิธีการทางศัลยกรรม
การให้สารน้ําและเลือด
ให้สารน้ําที่เป็น Balance salt solution
หากอาการทรุดลง ไม่ตอบสนองพิจารณาการให้เลือดกรุ้ป โอ ซึ่งสามารถให้เลือดทุกหมู่ได้ตามแผนการรักษา
กรณีสงสัยว่ามีเลือดออกในช่องท้อง หลีกเลี่ยงการให้สารน้ําที่ขาเพราะจะทําให้สารน้ําไหลรั่วเข้าช่องท้อง
ไม่ควรให้เลือดร่วมกับ Lactated Ringer's solution, acetarสารน้ําดังกล่าวมีส่วนผสมของแคลเซียมเพราะจะทําให้เลือดอตกตะกอน
หลีกเลี่ยงแทงเส้นใต้ตําแหน่งของแขนขาที่ได้รับบาดเจ็บ
หลังได้รับสารน้ําหรือเลือดควรประเมินการตอบสนองต่อสารน้ํา เช่น ชีพจรลดลง ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นปสสาวะออกมากกว่า 0.5 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/ชั่วโมง ปลายมือปลายเท้าไม่ซีด อุ่นขึ้น ระดับความรู้สึกตัวดีขึ้น
อย่างน้อยควรเปิดหลอดเลือดดําด้วยเข็มขนาดใหญ่และสั้น 2เส้น เบอร์ 18,16,14
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)คือ การจัดให้มีการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุโดยมีบุคลากรที่เป็นบุคลากรที่ได้รับการอบรมให้ความรู้ความสามารถ ในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)คือ การดูแลรักษาในโรงพยาบาลตั้งแต่การคัดแยก ระบบทางด่วนฉุกเฉิน การวินิจฉัย การรักษาตามความเร่งด่วน รวมถึงการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤต
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)คือ การเข้าถึงช่องทางสําหรับการติดต่อในการแจ้งเมื่อมีเหตุเกิดขึ้น
การฟื้นฟูสภาพและการส่งต่อ (Rehabilitation& transfer)คือ การดูแลต่อเนื่องในรายที่พบปัญหาหรือต้องได้รับการฟื้นฟูเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีภายหลังจากการได้รับการรักษาในโรงพยาบาล
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จํากัด
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การดําเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดําเนินงานในภาพรวม
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน (Fast track)
Care delivery
Monitoring: early warning signs & E-response
Investigation
Risk management (general & clinical)
Flow (purpose-process-performance)
Co-ordination, Communication, Handover
Activate system
Inter & Intra transportation
Triage/ Specific triage/ Assessment
Evaluation, output, outcome
EMS (accessibility)
Improvement, Innovation, Integration