Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยากับการใช้ประโยชน์:!:, image, image, image,…
ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยากับการใช้ประโยชน์
:!:
แผนที่อากาศพื้นผิว
:fire:แสดงข้อมูล -ข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศจากการตรวจวัด
-จากแบบจำลองพยากรณ์อากาศเชิงตัวเลข
:fire:ข้อมูลแสดงในรูปสัญลักษณ์บ่งบอกองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ
แสดงลมฟ้าอากาศบริเวณกว้าง
1.เส้นความกดอากาศเท่า
2.หย่อมความกดอากาศต่ำ
3.บริเวณความกดอากาศสูง
4.พายุหมุนเขตร้อน
5.แนวปะทะอากาศร่อง
6.ความกดอากาศต่ำ
:fire:ข้อมูลบางอย่าง ex.แนวปะทะอากาศพายุหมุนเขตร้อนทำได้ไม่แม่นยำนักเพราะสถานีตรวจอากาศพื้นผิวไม่มากพอ
:fire:ข้อมูลที่แสดงผลในรูปตัวเลข
1.ความกดอากาศ
2.ปริมาณน้ําฝน
3.ปริมาณเมฆชั้นต่ำที่ปกคลุมsky
4.ความสูงของฐานเมฆ
5.Tจุดน้ำค้าง
6.ทัศนวิสัย
7.Tอากาศ
:fire:ข้อมูลที่ต้องแปลงมาจากตัวเลขอีกทีหนึ่ง
1.ชนิดเมฆ
2.การเปลี่ยนแปลงความกดอากาศ
3.สภาพลมฟ้าอากาศ
4.Vและทิศทางของลม
:fire:เวลาสากลเชิงพิกัด
แปลงเป็นเวลาท้องถิ่นไทยโดยก.(+7)
ex.06UTC = 13.00น. ไทย
ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
:black_flag:ได้จากการตรวจวัดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในหลายๆλ
ทำให้ทราบ
-ตำแหน่งที่พบเมฆ
-ชนิดเมฆ
-อุณหภูมิเมฆ
-ตำแหน่งพายุหมุนเขตร้อน
:black_flag:ช่วงคลื่นอินฟราเรด
ตรวจได้ทุกเวลาภาพจะเป็นเฉดสีเทาไล่ระดับตามT
Tต่ำเทาอ่อน Tสูงเทาเข้ม
-เมฆที่อยู่สูงorยอดสูงTจะต่ำ ex เมฆชั้นสูง,เมฆฝนฟ้าคะนอง
(ภาพจะเป็นสีขาว)
-พื้นดิน พื้นน้ำ Tสูง (สีเข้ม)
*ข้อจำกัด:ถ้าTใกล้กัน สีจะต่างกันน้อย50ต้องปรับสีภาพ
canระบุTรอบตาพายุ 50 สามารถบอกความรุนแรงได้
:black_flag:ช่วงคลื่นที่มองเห็น
-ได้จากการสะท้อนรังสีของวัตถุ\
-วัดได้เฉพาะช่วงที่มีแสง
-ได้ภาพเฉดสีเทาไล่ระดับตามอัตราส่วนรังสีสะท้อนของวัตถุ(สัมพันธ์กับความหนาของเมฆเมฆหนาอัตราสูง)
สีขาว-สีดำ เมฆหนามาก - น้อยแสดงรูปทรงเมฆso.canบอกได้ว่าเป็นเมฆก้อนorแผ่น
เรดาร์ตรวจอากาศ
:red_flag:บอกบริเวณที่มีฝนตก ความแรงของฝน ทิศการเคลื่อนที่ของกลุ่มฝน แต่can'tพยากรณ์ฝนที่จะเกิดได้
:red_flag:โดยแปลความหมายจากสีตามความเข้มของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
:red_flag:
-ใช้ติดตามข้อมูลหยาดน้ำฟ้าที่เกิดขึ้นแล้วในบรรยากาศ
(ยังไม่ใช่หยาดน้ำฟ้าที่ตกลงพื้นorปริมาณน้ำฝน)
-ตรวจวัดค่าความเข้มของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่สะท้อนกลับมาที่เรดาร์
-ตรวจวัดหยาดน้ำฟ้าโดย 1.ปล่อยคลื่นไมโครเวฟไปกระทบเมฆฝนฟ้าคะนอง 2.คลื่นสะท้อนกลับมาที่ตัวรับสัญญาณ(ความเข้มคลื่นสะท้อนกลับแตกต่างกันตามบริเวณที่คลื่นไปกระทบ)ยอดเมฆ,ใต้เมฆ,กลางเมฆ มีหน่วย DB
-ในการตรวจจะกำหนดค่ามุมเงยของเรดาร์เพียงค่าเดียว(ในระดับที่ใกล้พื้นโลกมากที่สุด โดยที่คลื่นยังcanข้ามสิ่งกีดขวางได้ex.ตึก) เพื่อให้เรดาร์กวาดมุม 360 องศารอบตำแหน่งเรดาร์ได้
-ภาพประกอบจะเป็น Top View เรียกว่า PPI
:red_flag:ความเข้มของคลื่นแสดงด้วยสีตามความแรง&ชนิดหยาดน้ำฟ้าฝนที่กำลังออนสุด (20 เดซิเบล)
การแปรข้อมูลเรดาร์ต้องระวังเรื่องข้อมูลที่ไม่ได้แสดงถึงตรวจวัดนักเป็นแถบยาวออกจากสถานีไฟตาม r ข้อมูลนี้ค่าความเข้มคลื่นสะท้อนจะสูงกว่าปกติ so.ควรดูควบคู่กับภาพถ่ายดาวเทียม
บทนำ
:pencil2:การพยากรณ์อากาศให้ข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศจากอดีตถึงปัจจุบันforคาดการณ์สภาพลมฟ้าอากาศ
:pencil2:
-การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบลมฟ้าอากาศในวันที่ผ่านมาforพยากรณ์วันถัดไป
-การวิเคราะห์คสพ.ขององค์ประกอบลมฟ้าอากาศforพยากรณ์แม่นยำ
-ก.ใช้ข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศมาคำนวณในสมการคณิตฯ"แบบจำลองพยากรณ์อากาศเชิงตัวเลข"
:pencil2:ปัจจัยที่มีผลต่อความแม่นยำจำนวนข้อมูลยิ่งมากยิ่งแม่นยำองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ
การใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศทางอุตุฯ
:star:วางแผนประกอบอาชีพ ex
-เกษตรกรรม : วางแผนการเพาะปลูกเช่นพยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า รายปักษ์ 15 วัน ราย 3 ด.
-การท่องเที่ยว
:star:การวาดแผนการเตรียมความพร้อมเพื่อลดการสูญเสียที่อาจเกิดจากภัยพิบัติ