Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 70 ปี เตียง16 Dx. Systemic Lupus Erythematosus : SLE…
ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 70 ปี เตียง16
Dx. Systemic Lupus Erythematosus : SLE (โรคแพ้ภูมิตัวเอง)
SLE
ภูมิคุ้มกันทำลายเนื้อเยื่อในร่างกาย
เกิดการอักเสบ เกิดความผิดปกติของอวัยวะในร่างกาย
เม็ดเลือดแดงแตก
ผู้ป่วยมีภาวะซีด
ผู้ป่วยบอกว่า "มีอาการอ่อนเพลีย"
ผู้ป่วยเป็นโรคไตเสื่อมเรื้อรังระยะที่ 3
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วันที่ 25/02/65
Hb/Hct = 6.6/19.3
วันที่ 26/02/65
Hb/Hct = 6.6/19.7
วันที่ 27/02/65
Hb/Hct = 7.51/21.6
วันที่ 28/02/65
Hb/Hct = 7.5/21.7
การนำออกซิเจนไปยังเซลล์และเนื้อเยื่อในอวัยวะต่างๆได้น้อยลง
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน เช่น หายใจหอบมากขึ้น หายใจลำบาก หายใจเร็วและลึกขึ้น มึนงง สับสน ระดับการรู้สึกตัวลดลง เป็นต้น
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ
T = 36.5 – 37.4 °C
PR = 60 - 100 bpm
RR = 14 -20 bpm
BP = 120/80 mmHg.
O2Sat ≥ 95%
การพยาบาาาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน เช่น หายใจหอบมากขึ้น หายใจลำบาก หายใจเร็วและลึกขึ้น มึนงง สับสน ระดับการรู้สึกตัวลดลง เป็นต้น
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อให้ทราบการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
3.ประเมิน O2 Saturation ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อวัดระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
จัดท่านอนให้อยู่ในท่าศีรษะสูง 30 องศา เพื่อให้กระบังลมหย่อนตัว ปอดขยายตัวได้เต็มที่ และมีการระบายอากาศที่ดี
ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อน โดยจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ รบกวนผู้ป่วยเมื่อจำเป็น และพยายามให้การพยาบาลให้เสร็จสิ้นในเวลาเดียวกัน
ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย
ผู้ป่วยบอกว่า "มีอาการอ่อนเพลีย"
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยไม่มีอาการอ่อนเพลีย
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยบอกว่าไม่มีอาการอ่อนเพลีย
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะซีดเพิ่มขึ้น ได้แก่ เหนื่อยง่าย,อ่อนเพลีย, หายใจลำบากขณะออกแรง, ปวดหัว, ตัวซีด, เยื่อบุใต้ตาซีด
ผลทางห้องปฏิบัติการอยู่อยู่ในเกณฑ์ปกติ ได้แก่ CBC, Hb, Hct
การพยาบาล
ประเมินอาการของผู้ป่วยและสอบถามอาการ เช่น การเหนื่อยหอบ, หายใจไม่อิ่ม, ปีกจมูกบาน, หายใจลำบากขณะออกแรง,อาการมือเท้าเย็น, ปวดหัว, ตัวซีด, เยื่อบุใต้ตาซีด เป็นต้น
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพทุก 2-4 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยจำกัดกิจกรรมที่ต้องออกแรงมาก เพื่อไม่ให้เกิดการเหนื่อยหอบมากขึ้น โดยแนะนำการเคลื่อนไหวที่สามารถทำบน
เตียงได้ เช่น การเคลื่อนไหวข้อเท้า การนั่งแกว่งขาข้างเตียง เป็นต้น
เฝ้าระวังการทำกิจกรรมและการเกิดอุบัติเหตุจากการอ่อนเพลีย
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะซีด เช่น ผิวหนังซีด หัวใจเต้นแรง ชีพจรเร็ว เวียนศีรษะ หายใจตื้น หอบ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย มึนงง เป็นต้น
เจาะเลือดดู CBC เพื่อประเมินและติดตามระดับของฮีโมโกลบินและฮีมาโตคริต
ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าอาหารสูง มีธาตุเหล็ก ได้แก่ นม ไข่แดง ตับ ผักใบเขียว เครื่องในสัตว์ เป็นต้น
แนะนำการเปลี่ยนท่าทางควรทำอย่างช้าๆเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะซีด
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะซีด เช่น ผิวหนังซีด หัวใจเต้นแรง ชีพจรเร็ว เวียนศีรษะ หายใจตื้น หอบ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย มึนงง เป็นต้น
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
T = 36.5 – 37.4 °C
PR = 60 - 100 bpm
RR = 14 -20 bpm
BP = 120/80 mmHg.
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC ปกติ คือ
Hb = 12-16 g/dL
Hct = 36-48%
ภูมิคุ้มกันเชื้อโรคต่ำ
CBC
วันที่ 25/02/65
WBC = 3,250
วันที่ 26/02/65
WBC = 2,630
วันที่ 27/02/65
WBC = 5,940
วันที่ 28/02/65
WBC =5,120
ผู้ป่วยติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
(Urinary tract infection : UTI)
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
UA
พบ Protein 1+ ,RBC 20-30 cell ,blood 3+
การพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะบ่อย ปวดแสบเวลาปัสสาวะ ปัสสาวะขุ่น มีไข้ หนาวสั่น ปวดเอวข้างเดียว หรือสองข้าง
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ให้การพยาบาลผู้ป่วยโดยยึดหลัก Aseptic technique
ดูแลให้ป่วยได้รับสารน้ำตาแผนการรักษา และบันทึกสารน้ำเข้า-ออก
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา และติดตามผลหลังจากการให้ยา
ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำอย่างเพียงพอ
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีวิตามิน
แนะนำให้ผู้ป่วยทำความสะอาดอวัยวะเพศอย่างถูกต้อง
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ คือ CBC , UA และ Hemoculture
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
เพื่อเพื่อให้ผู้ป่วยมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะลดลง
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะบ่อย ปวดแสบเวลาปัสสาวะ ปัสสาวะขุ่น มีไข้ หนาวสั่น ปวดเอวข้างเดียว หรือสองข้าง
สัญญาณชีพปกติ คือ
T = 36.5 – 37.4 °C
PR = 60 - 100 bpm
RR = 14 -20 bpm
BP = 120/80 mmHg.
Protein = Negative
Blood = Negative
ข้อมูล
อาการสำคัญ
รับ Refer จากโรงพยาบาลพนัสนิคม ด้วยอาการอ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามร่างกาย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
แพทย์วินิจฉัยเป็น >>
โรคประจำตัว
ความดันโลหิตสูง
ผนังหลอดเลือดหนาและแข็งขึ้น
หลอดเลือดในไตตีบ
ไตขาดเลือด
ไขมันในเลือดสูง
หลอดเลือดตีบแคบลง
โรคไตเสื่อมเรื้อรัง ระยะที่ 3
การทำงานของไตลดลง และไตสูญเสียหน้าที่
ไตไม่สามารถสังเคราะห์ Erytropoietin ได้
ร่างกายมีปริมาณเม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกติ
<<
การควบคุมสมดุล Electrolyte ลดลง
ผู้ป่วยมีภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
ผู้ป่วยบอกว่า "มีอาการอ่อนเพลีย"
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
25/02/65
K = 3.3 mmol/L
26/02/65
K = 4.4 mmol/L
27/02/65
K = 3.4 mmol/L
28/02/65
K = 3.2 mmol/L
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยมีโพแทสเซียมในเลือดในระดับปกติ
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ เช่น หน้ามือ เป็นลม กล้ามเนื้ออ่อนแรง อ่อนล้า เป็นเหน็บชา หัวใจเต้นผิดปกติ
2.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ
T = 36.5 – 37.4 °C
PR = 60 - 100 bpm
RR = 14 -20 bpm
BP = 120/80 mmHg.
3.ระดับโพแทสเซียมในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ
K = 3.5 - 5.5 mmol/L
การพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะโพแทสเซียมสูง คือ หน้ามือ เป็นลม กล้ามเนื้ออ่อนแรง อ่อนล้า เป็นเหน็บชา หัวใจเต้นผิดปกติ
ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับ E.KCL ตามแผนการรักษาของแพทย์
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ Electrolyte
เอกสารอ้างอิง
ณัฐพล เลาหเจริญยศ.(2557).อาหารและโพแทสเซียม.วันที่สืบค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2565,เข้าถึงได้จาก
https://sriphat.med.cmu.ac.th/th/knowledge-62
ณัฐยา ระวิงทอง.(ม.ป.ป.).การพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อ.
วันที่สืบค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2565,เข้าถึงได้จาก
http://www.inb.moph.go.th/MyPDF/nattaya.pdf
โรงพยาบาลพญาไท.(2563).ภาวะโลหิต ภาวะที่ต้องหาสาเหตุ.วันที่สืบค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2565,
เข้าถึงได้จาก
https://www.phyathai.com/article_detail/2976/th/ภาวะโลหิตจาง…_ภาวะที่
ต้องหาสาเหตุ
สมาคมโรคไตแห่งประเทศ.(2563).ภาวะโลหิตจางในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง.วันที่สืบค้นข้อมูล
5 มีนาคม 2565,เข้าถึงได้จาก
https://www.nephrothai.org/wp-content/uploads/
2020/08/ภาวะโลหิตจางในผู้ป่วยไตเรื้อรัง.pdf
อนงค์ ทองสามัญ.(2554).การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ.วันที่สืบค้นข้อมูล
5 มีนาคม 2565,เข้าถึงได้จาก
http://www.msdbangkok.go.th/dowload%20file/Personal/Succeed/150856/25.pdf
อภิรดี ทองบุญ.(ม.ป.ป.).ภาวะโลหิตจางในผู้ป่วยโรคไต.วันที่สืบค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2565,เข้าถึงได้จาก
http://www.kidneythai.org/pdf/SRY%2043153%2023-9%20PC2%20DAO_91-94.pdf
นางสาวณัฎฐณิชา สาร่องคำ รหัสนิสิต 62010046 กลุ่ม 02-9