Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Endocrine System - Coggle Diagram
Endocrine System
บทบาทหน้าที่
ควบคุมการทำงานของระบบต่างๆในร่างกาย
ควบคุมการเจริญเติบโต เมทาบอลิ
ควบคุมสมดุลของสารน้ำ เกลือแร่ และอิเล็กทรอไลท์ต่างๆ
ควบคุมการทำงานของระบบสืบพันธุ์ทั้งในสภาวะปกติ ตั้งครรภ์ และหลังคลอด
คุณสมบัติทางสรีรวิทยาของฮอรโมน
การสังเคราะห์ (Synthesis)
P&P, A→สังเคราะห์ขึ้นมาและเก็บไว้
S→สังเคราะห์และหลั่งตามความต้องการ
การขนส่ง (Transport)
P&P, C→ขนส่งโดยอิสระไปตามการไหลเวียนเลือด
S, T→ขนส่งไปโดยการจับกับโปรตีนตัวน า (Carrier proteins)
การจับกับตัวรับ (Receptor binding)
P&P, C→จับกับตัวรับบนผิวเซลล์ (Cell membrane receptors) S, T→จบักบัตวัรับที่อยู่ภายในเซลล์(Intracellular receptors)
การตอบสนอง (Effects)
P&P, C→การเปลี่ยนแปลงโปรตีน (Protein modification)
P&P, S, T→การสังเคราะห์โปรตีน (Protein synthesis)
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนไทรอยด์
(Thyroid hormones)
ชนิดของฮอร์โมน
Peptide hormone
หน้าที่
ลดระดับแคลเซียมในเลือด
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
Parathyroid glands, Kidneys, Bone, GI tract
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนไทรอยด์ (Thyroid hormone and its disorders)
Iodine↓ → Iodine Deficiency
โรคคอพอก (Goiter) เป็นภาวะที่มีการโต
ขึ้นของต่อมไทรอยด
T3,T4 ↓ → Hypothyroidism
ภาวะที่ต่อมไทรอยด์ทำงานลดลง
ทำให้การเผาผลาญของร่างกายน้อยลง
T3,T4 ↑ → Hyperthyroidism
ภาวะที่ต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไป
ทำให้การเผาผลาญของร่างกายเพิ่มขึ้น
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนพาราไทรอยด์
(Parathyroid hormones)
ชนิดของฮอร์โมน
Peptide hormone
หน้าที่
เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด
เซลล์หรืออวัยวะเป้าหมาย
Kidneys, Bone, GI tract
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนไทโมซิน
(Thymosin hormones)
ต่อมอยู่ระหว่างกระดูกหน้าอกกับหลอดเลือด aorta
วางตัวอยู่ด้านหน้าและหน้าปกคลุมอยู่ทางด้านบนของหัวใจ
ประกอบด้วย 2 lobes คือ Right lobe และ Left lobe
หลั่งฮอร์โมน Thymosin ทำหน้าที่พัฒนา T-cells และควบคุมการท างานของระบบภูมิคุ้มกัน
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนระบบสืบพันธุ์ (Reproductive hormones)
อวัยวะสืบพันธุ์และรก (gonads and placeta)
จัดเป็นต่อมไร้ท่อชั่วคราวที่ร่างกายผู้หญิงสร้างขึ้นเพื่อการครรภ์
สังเคราะห์ฮอร์โมนที่จำเป็น 3 ชนิด
ฮอร์โมน hCG→ กระตุ้นcorpus luteum ให้ผลิตฮอร์โมน 2 ชนิด ฮอร์โมน Progesterone → รักษาความหนาของเยื่อบุมดลูก ฮอร์โมน Estrogen →พัฒนาเต้านมและกล้ามเนื้อมดลูก
เพศชาย(Male)
Testes →Leydig cells →Testosterone
กระตุ้น Secondary sex characteristics
ควบคุมและกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกาย
กระตุ้นกระบวนการ Spermatogenesis
เพศหญิง(Female)
Ovary →Follicle →Estrogen
กระตุ้น Secondary sex characteristics
ควบคุมและกระตุ้มการเจริญเติบโตของร่างกาย
กระตุ้นกระบวนการ Ovulation
Ovary →Corpus luteum →Progesterone
กระตุ้นการพัฒนาของเต้านมและมดลูกเพื่อรองรับการตั้งครรภ์ และมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของร่างกาย
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนเมลาโทนิน
(Melatonin hormone)
ต่อมไพเนียล อยู่เหนือสมองส่วนกลางและอยู่หลังต่อโพรงสมองที่ 3 (Third ventricle)
หลั่งฮอร์โมน Melatonin ทำหน้าที่ควบคุมวงจรการตื่นและการหลับของมนุษย์
การสังเคราะห์ฮอร์โมน (Hormone synthesis)
ชนิดของฮอร์โมน
โปรตีน (Peptides and Protein (P&P))
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกรดอะมิโนหลายตัวที่เชื่อมติดกัน
ด้วยพันธะเคมี(Modification of multiple amino acids)
สเตียรอยด์(Steroids (S))
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของไขมันชนิดคอเลสเตอรอล
(Modification of lipid cholesterol)
เอมีน (Amines (A))
แคททีโคลามีน (Catecholamines (C))
ไทรอยด์(Thyroid (Iodothyronines) (T))
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนต่อมใต้สมอง
(Pituitary hormones and their control by Hypothalamus)
ฮอร์โมนต่อมใต้สมองจาก Pituitary Gland และ Hypothalamus
ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) หรือ Hypophysisจัดเป็ นส่วนหนึ่งของ Diencephalon
มีลักษณะเป็นต่อมรูปไข่สีน้ำตาลแดง
วางอยู่ที่แอ่งของกระดูกSphenoid ที่Anterior and inferior to the Thalamus
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary)
Adenohypophysis
Growth hormone (GH)
Prolactin (PRL)
Adrenocorticotropin (ACTH)
Thyroid-stimulating hormone (TSH)
Follicle stimulating hormonr (FSH)
Luteinizing hotmone (LH)
Interstitial cell-stimulating hormone (ICSH)
Melanocyte-stimulating hormone (MSH)
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary)
Neurohypophysis
Antidiuretic hormone (ADH)
Oxytocin
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนต่อมหมวกไต
(Adrenocortical hormones)
ต่อมหมวกไต ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ
ส่วน Adrenal cortex แบ่งได้ 3 ชั้น
Zona glomerulosa → ฮอร์โมน Aldosterone → รักษาสมดุลน้ำละเกลือแร่ (Na+retention at Collecting ducts)
Zona fasciculata → ฮอร์โมน Cortisol → รักษาสมดุลในระบบเมตาบอลซึมของน้ำตาล (Glucose metabolism)
Zona reticularis → ฮอร์โมน Androgen →ควบคุมลกัษณะทางเพศ (Masculinization)
ส่วน Adrenal medulla →Epinephrine & Norepinephrine →กระตุ้นการท างานของระบบ Sympathetic nervous system
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนตับอ่อน
(Pancreatic hormones)
โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus, DM)
Type I Diabetes Mellitus
ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้
มักพบในเด็กหรือผู้ที่มีอายุน้อยกวา่ 30 อายุมักผอม (เกิดจากพนัธุกรรม)
ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน
Type II Diabetes Mellitus
ตับอ่อนสามารถสร้างอินซูลินได้ แต่มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน
พบในทุกวัยและมักมีภาวะอ้วนร่วม (เกิดจากพฤติกรรม)
Gestational and other DM
มีภาวะขาดหรือดื้อต่ออินซูลิน
เกิดภาวะ hyperglycemia ในหญิงตั้งครรภ์และผู้ที่มีอาการป่วยที่ส่งผลกระทบต่อตับอ่อน