Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ - Coggle Diagram
บทที่ 6 การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
ความหมายของการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
การบริหาร
กิจกรรมต่างๆ ที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปร่วมมือกันดําเนินการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายๆอย่าง ที่บุคคลร่วมกันกําหนดโดยใช้กระบวนอย่างมีระบบ และให้ทรัพยากรตลอดจนเทคนิคต่างๆอย่างเหมาะสม
การจัดการ
การทําให้กลุ่มบุคคลในองค์กรเข้ามาทํางานร่วมกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันขององค์กร
ความสําคัญของการบริหารจัดการในสถานศึกษา
การบริหารงานวิชาการ
งานวิชาการถือว่าเป็นหัวใจของการบริหารการศึกษา เพราะจุดมุ่งหมายของสถานศึกษาก็คือ การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ ซึ่งขึ้นอยู่กับงานวิชาการทั้งสิ้น งานวิชาการเป็นกิจกรรมการจัดการเกี่ยวกับงานด้านหลักสูตร การนําหลักสูตรไปใช้ แบบเรียน งานการเรียนการสอน งานสื่อการเรียนการสอน งานวัดผลและประเมินผล งานห้องสมุด งานนิเทศการศึกษา งานวางแผนการศึกษา และงานประชุมอบรมทางวิชาการ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุจุดหมายของการศึกษาที่กําหนดไว้อย่างมี ประสิทธิภาพ
การบริหารงานงบประมาณ
จัดทํางบประมาณให้มีประสิทธิภาพ เพื่อสามารถใช้งบประมาณที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดรวมทั้ง คาดการณ์ล่วงหน้าถึงการเปลี่ยนแปลงทางการเงินที่จะเพิ่มหรือลดในอนาคตด้วย
การบริหารงานทั่วไป
ส่งเสริมในการ บริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามหลักการบริหารงานที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลักโดยเน้นความโปร่งใส ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
การบริหารงานบุคคล
คนเงินวัสดุอุปกรณ์และการจัดการหรือเทคนิคในการบริหารนั้น“ คน” มี
ความสําคัญมากด้วยเหตุที่ “ คน”
การจัดการชั้นเรียน
การจัดการชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้
การจัดเก็บ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ในชั้นเรียน
การกําหนดลักษณะการเคลื่อนไหวของนักเรียนในชั้นเรียน
การกําหนดกฎระเบียบในชั้นเรียนตั้งแต่วันแรกของปีการศึกษา
การเริ่มและการสิ้นสุดการสอนด้วยความราบรื่น
การจัดการเกี่ยวกับการเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนในระหว่างชั่วโมงเรียน
การจัดการเกี่ยวกับการทํากิจกรรมของนักเรียนเริ่มจากการกระตุ้นให้ นักเรียนสนใจบทเรียน และขจัดอุปสรรคหรือสิ่งที่จะรบกวนการเรียนให้ มีน้อยที่สุด
การดําเนินงานให้ การเรียนรู้เป็นไปในทางที่ครูได้ กําหนดหรือวางแผนไว้
การดําเนินการเพื่อให้ นักเรียนพัฒนาตามความต้องการของนักเรียนแต่ละคน งานในหน้าที่ของครูด้านการจัดการชั้นเรียนเพื่อสร้างบรรยากาศการเรียนรู้จึงเป็นงานที่การดําเนินงานให้ การเรียนรู้เป็นไปในทางที่ครูได้ กําหนดหรือวางแผนไว้
ความหมายของการจัดการชั้นเรียน
นับตั้งแต่การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ในห้องเรียน
การจัดการกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของนักเรียน
การสร้างวินัยในชั้นเรียน
การจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนของครูและการพัฒนาทักษะการสอนของครูให้ สามารถกระตุ้น พร้อมทั้งสร้างแรงจูงใจในการเรียน
เพื่อให้ นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาการจัดการชั้นเรียน
แนวทางการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา
เป็นโรงเรียนที่ผู้บริหาร มีจิตสํานึกในการที่จะพัฒนาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
มีบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมของสถานศึกษาที่เอื้อต่อการเรียนการสอน
เป็นโรงเรียนที่มีความพร้อม มีแผนผังเต็มรูปแบบ มีห้องเรียน ห้องสมุดห้องคอมพิวเตอร์
มีบุคลากร ครูผู้สอนครบตามเกณฑ์เชิญครูที่เกษียณอายุหรือภูมิปัญญาท้องถิ่น
ให้องค์กรท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นทางด้านวิชาการหรือด้านบริหาร เช่นกําหนดหลักสูตรให้สอดคล้อง กับความต้องการของท้องถิ่นได้แก่การสอนภาษาอังกฤษ
มีการเก็บค่าเล่าเรียน และค่าธรรมเนียมการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษา และ จัดอุปกรณ์การเรียนการสอนให้ครบครันยกเว้นค่าเล่าเรียนสําหรับเด็กยากจน
มีการส่งเสริมให้กลุ่มบุคคล หรือชุมชนมีส่วนร่วมในการแสวงหาทรัพยากร
การบริหารจัดการชั้นเรียน
มีการจัดที่ว่างในชั้นเรียนอย่างชัดเจน เพื่อใช้อเนกประสงค์
ในชั้นเรียนที่มีนักเรียนมีปัญหาทั้งทางด้านการเรียนและด้านพฤติกรรมอาจ แก่ปัญหาได้ ด้วยการแยกออกมาอยู่
มีที่ว่างสวนตัวของนักเรียนแต่ละคน
ลักษณะที่นั่งของนักเรียนเป็นแถวเพื่อสะดวกในการทํากิจกรรมการเรียนรู้ ในเนื้อหาวิชาการในขณะที่การจัดที่นั่งแบบกลุ่ม จะทําให้ นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ ทางสังคม