Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การบริหารแหล่งเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมและพลังงาน - Coggle Diagram
บทที่ 4 การบริหารแหล่งเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมและพลังงาน
แหล่งเรียนรู้
แหล่งข้อมูล ข่าวสาร และสถานที่ต่าง ๆ ที่สามารถส่งเสริม
และสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับนักเรียนได้
จัดตามลักษณะของแหล่งการเรียนรู้ ได้แก่ แหล่งการเรียนรู้ตามธรรมชาติ แหล่งการเรียนรู้ที่
มนุษย์สร้างขึ้น และแหล่งการเรียนรู้ที่เป็นบุคคล
จัดตามแหล่งที่ตั้งของแหล่งการเรียนรู้ ได้แก่ แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
ปัจจุบันสามารถแบ่งประเภทของแหล่งการเรียนรู้ได้หลายลักษณะ ตามรูปแบบของแหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ตามธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติสวนพฤกษศาสตร์ภูเขา ทะเล แม่น้ํา และปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ
แหล่งการเรียนรู้ที่เกิดจากมนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งมีทั้งแหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียน เช่น ห้องสมุด สนามกีฬา
แปลงเกษตร และแหล่งการเรียนรู้นอกโรงเรียน เช่น วัดวาอาราม ตลาด พิพิธภัณฑ์ และสวนสัตว์ เป็นต้น
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นบุคคล หมายถึง ผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์ต่าง ๆ ที่ได้รับเชิญมาให้ความรู้กับนักเรียน
เกี่ยวกับเรื่องที่ตัวเองเชี่ยวชาญ เช่น นักดับเพลิง พ่อครัว หรือ วิทยากรตามแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
แหล่งการเรียนรู้ดิจิทัล หมายถึง แหล่งการเรียนรู้ที่มาจากเครื่องมือสื่อสารออนไลน์ เช่น ข่าวสาร
ออนไลน์ ยูทูป และข้อมูลที่ค้นคว้าได้ในอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
ความสําคัญในการใช้แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้เป็นแหล่งที่ผู้เรียนสามารถใช้ในการศึกษาค้นคว้าหาคําตอบที่ต้องการจากการเรียนรู้ได้ แหล่งเรียนรู้มีทั้งในโรงเรียนและชุมชน รวมถึงแหล่งเรียนรู้ที่เป็นบุคคลและดิจิทัลด้วย
แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนนอกจากห้องเรียนแล้ว สถานที่ต่าง ๆ ภายในโรงเรียนถือเป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งนั้น
แหล่งการเรียนรู้ในชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ตามธรรมชาติและเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
โรงเรียนจัดการเรียนรู้โดยเชื่อมโยงกิจกรรมต่อเนื่องระหว่างการเรียนรู้ในห้องเรียน การเรียนรู้ในโรงเรียน และการเรียนรู้ในชุมชน รวมถึงการเรียนรู้จากบุคคลและสื่อดิจิทัลด้วย
สิ่งแวดล้อม
ความหมาย
ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา ทั้งที่เกิดเองตามธรรมชาติและที่เกิดจากการสร้างขึ้นของมนุษย์ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม สิ่งแวดล้อมมีสมบัติเฉพาะตัว สิ่งแวดล้อมจะไม่อยู่โดดเดี่ยวในธรรมชาติจะมีความต้องการต่อสิ่งอื่น ๆ เสมอ หรือกล่าวได้ว่า สิ่งแวดล้อมต้องอยู่เป็นระบบถ้าสิ่งแวดล้อมหนึ่งถูกกระทบย่อมมีผลต่อสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ด้วยเสมอ
รูปแบบของพลังงาน
พลังงานปฐมภูมิ
พลังงานเชิงพาณิชย์
ความสัมพันธ์ของพลังงานกับการดํารงชีวิต
การเคลื่อนไหวซึ่งอาจเป็นส่วนที่เคลื่อนไหวอวัยวะ
การติดต่อสื่อสารซึ่งจะต้องใช้พลังงาน
พลังงานทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ
พลังงาน
ขั้นตอนการจัดการสิ่งแวดล้อม
การศึกษาปัญหาและขอบเขต
การวิเคราะห์ขั้นตอนของการดําเนินการ
การเตรียมแผนงาน
การดําเนินการตามแผน
การประเมินผลและปรับปรุงการดําเนินการ
ความหมาย
กระบวนการแผ่กระจายทรัพยากรที่สําคัญทั้งที่เกิดโดยธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้นเพื่อสนองความพอใจในการนําไปใช้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้ต้องเป็นการดําเนินการอย่างมีระบบในการนําทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ โดยไม่มีผลกระทบต่อระบบสิ่งแวดล้อม เพื่อจะมีทรัพยากรใช้ได้ตลอดไป