Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงของพืช - Coggle Diagram
การลำเลียงของพืช
การเคลื่อนที่ของธาตุอาหาร
facilitated diffusion
Active transport
Transport protein
ลำเลียงน้ำตาลทางโฟลเอ็ม
การลำเลียงน้ำ
การลำเลียงน้ำเข้าสู่ไซเล็ม
น้ำเคลื่อนตามช่องว่างระหว่างเซลล์
น้ำเคลื่อนผ่าน plasmodesmata
น้ำเคลื่อนผ่านทางเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงน้ำภายในไซเล็ม
Capillary action
เกิดจากแรง Cohesion และแรง adhesion
แรงดันมีค่าน้อย น้ำจึงเคลื่อนที่ได้ไม่สูง
Transpiration pull
เกิดจากแรงดึงจากการคายน้ำ ใช้ลำเลียงสู่ทีี่สูง
Root pressure
เกกดิจากการดูดน้ำเข้ามาสู่ราก เกิดเวลาที่ปากใบปิด
การลำเลียงน้ำจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่รากพืช
นำเข้าสู่ขนรากโดยออสโมซิสและแพร่แบบฟาซิลิเทตโดยใช้ Aquaporin
ชลศักย์
อุณหภูมิ 20 c ความดัน 1 บรรยากาศ
ชลศักย์ = 0 MPa
จากชลศักย์สูงไปยังชลศักย์ต่ำ
ตัวละลาย
เพิ่มตัวละลายทำให้ชลศักย์ของน้ำลดลง
แรงดึง
เพิ่มแรงดึงทำให้ชลศักย์ของน้ำลลดลง
แรงดัน
เพิ่มแรงดันทำให้ชลศักย์ของน้ำสูงขึ้น
การแลกเปลี่ยนแก๊สกับคายน้ำ
ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำ
คายน้ำลดลง
น้ำในดินลดลง
คายน้ำมากขึ้น
อุณหภูมิสูง
ลมพัดแรง
ความเข้มแสงสูง
ความชื้นลดลง
Guttation
น้ำออกมาทางรูเปิดที่ขอบใบเส้นใบ
hydathode
Lenticel
รอยแตกแลกเปลี่ยนแก๊สกับคายน้ำได้
ปากใบ
มีเซลล์คุมประกบคู่มีรูตรงกลาง
แลกเปลี่ยนออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์
กลไกการเปิดปิดปากใบ
k+ เข้าสู่เซลล์คุม
น้ำเข้าสู่เซลล์คุม
เซลล์เต่งปากใบเปิด
k+ออกจากเซลล์คุม
เซลล์เต่งอยู่เพราะมีซูโครส
ซูโครสลดลง น้ำออก
1 more item...
กลไกการลำเลียงอาหาร
ซูโครสเข้าสู่ทิวป์เมมเบอร์ชลศักย์ต่ำลง
น้ำเข้าสู่ทิวป์เมมเบอร์ความดันสูงขึ้น
ซูโครสเคลื่อนไปแหล่งรับที่ความดันต่ำกว่า
เข้าสู่แหล่งรับ ชลศักย์สูงขึ้น
น้ำเคลื่อนออกสู่เซลล์ข้างเคียงความดันแหล่งรับต่ำลง
มีความแตกต่างระหว่างแหล่งสร้างกับแหล่งรับ การลำเลียง
จึงเกิดอย่างต่อเนื่ิอง