Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ระบบทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ระบบทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ
โรคเบาหวาน(Diabetes mellitus)
ความหมาย
เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติในการเผาผลาญสารอาหารคาร์โบไฮเดรตเนื่องจากภาวะพร่อง/ขาดอินชูสิน ทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้ได้ระดับน้ำตาลในเลือดจึงสูง และมีน้ำตาลบางส่วนถูกขับออกมากับปัสสาวะและส่งผลให้เกิดการเปลี่นแปลงของการเผาผลาญสารอาหารโปรตีนและไขมันร่วมกับการเสื่อมของอวัยวะต่างๆ
การรักษา
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงปกติ ประมาณ 80-150 mg/dl หรือค่า HbA1C ไม่เกินร้อยละ7
ปราศจากภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน ได้แก่ น้ำตาลในเลือดต่ำ ภาวะกรดและคีโตนคั่งในร่างกายโรคประสาทและไขมันในเลือดสูง จำเป็นต้องรักษาด้วยอินซูลิน
วิธีการให้อินซูลิน
ต้องให้โดยวิธีการฉีด ซึ่งฉีดได้ 3 ทาง
นิยมฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ไม่ควรฉีดซ้ำบริเวณเดิม เพราะอาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อชั้นใต้ผิวหนังบริเวณที่ฉีดยามีลักษณะบุ๋มลง และทำให้การดูดซึมอินซูลินลดลง
ชนิดของโรคเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่ 2
เกิดจากเซลล์ดื้อยาต่ออินซูลิน
สาเหตุ
อายุที่มากขึ้น
ความอ้วน
กรรมพันธุ์
ขาดการออกกำลังกาย
จะพบได้มากในขณะตั้งครรภ์
เบาหวานชนิดนี้สามารถทำงานได้แต่ทำงานได้ไม่ดี ตับอ่อนพยายามสร้างอินซูลิน เพื่อให้เพียงพอกับการทำงานหนัก ก็จะทำงานได้เเย่ลงผลิตอินซูลินน้อยลง ทำให้เกิดการคั่งของน้ำตาลในเลือด
เบาหวานชนิดอื่นๆ
มีความผิดปกติทางพันธุ์กรรม
MODY มีความผิดปกติของอินซูลิน เช่น โรคต่อมไร้ท่อตับอ่อน อาจเกิดการติดเชื้อ ได้รับยา สารเคมีและโรคพันธุกรรม
มักพบในคนอายุน้อยกว่า 25 ปี
เบาหวานชนิดที่1
สาเหตุ
การหลั่งอินซูลินลดลงเชื่อว่าเกิดจากการทำลายกระบวนการผลิตอินซูลินของเบต้าเซลล์
พยาธิสภาพ
ถ้าร่างกายขาดอินซูลิน หรือไม่เพียงพอกับความต้องการจะทำให้ไม่สามารถนำกลูโคสูไปใช้ได้ ระดับน้ำตาลในเลือดจึงสูงขึ้นมากกว่าปกติ ร่างกายไม่สามารถใช้กลูโคสเป็นพลังงานได้ ตับจึงผลิตกลูโคสด้วยการสลายไกลโคเจน โปรตีน และไขมันมาใช้แทนทำให้ได้กรดอะมิโน คีโตน และที่สำคัญคือ ได้กรดไขมันและคีโตนผ่านเข้าไปในหลอดเลือด จึงเกิดภาวะเลือดเป็นกรด และคีโตนคั่ง
อาการเเละอาการเเสดง
ปัสสาวะบ่อย
1 more item...
รับประทานอาหารมากขึ้นเเละน้ำตาลลดลง
1 more item...
ดื่มน้ำมาก
ปัญหาอื่นๆ
3 more items...
เบาหวานในระยะตั้งครรภ์
เกิดในขณะตั้งครรภ์
ในระยะแรก ระดับน้ำตาลในเลือดปกติเมื่อครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นส่วนมากหลังคลอดหายได้เองแต่มีความเสี่ยงที่จะเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ได้มากกว่าปกติ
กลุ่มอาการโรคไต
สาเหตุ
ความผิดปกติที่ไต Primary renal cause
พยาธิสรีภาพ >> เกิดจากการเสียหายที่โครงสร้าง GMB ที่มีการรั่วของโปรตีนเพิ่มขึ้น อัลบูมินออกมาในปัสสาวะ กระตุ้น Renin angiotensin aldosterone ให้ทำงานเกิดการหลั่งฮอร์โมน ADH ทำให้มีการดูดซึมโซเดียมกลับ ส่งผลให้มีการคั่งของโซเดียมและเกิดอาการบวม
อาการและอาการการแสดง
ติดเชื้อ
เจริญเติบโตช้า
แบบแผนโภชนาการเปลี่ยนแปลงมีการเจริญเติบโตช้าจากการสูญเสียโปรตีนจากปัสสาวะ
กิจกรรมการพยาบาล
จัดอาหารที่มีความสมดุลและเหมาะสมกับวัยแต่ต้องจํากัดอาหารไขมันให้น้อยกว่าร้อยละ 35 ของพลังงาน โดยเฉพาะโคเลสเตอรอลควรให้น้อยกว่า 300 มิลลิกรัม/วันจึงควรหลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ที่ติดมัน เช่น อาหารประเภททอด ไข่แดง
เพิ่มอาหารที่มีแคลเซียมสูง ควรจัดอาหารที่มีแคลเซียมสูงไม่ต่ำกว่าวันละ 800 มิลลิกรัมนอกจากนี้ควรส่งเสริมให้อาหารที่มีวิตามินดี ธาตุเหล็ก สังกะสี ทองแดง เพราะสารเหล่านี้ในเลือดอาจมีระดับต่ำจนเด็กเกิดอาการกระตุก (tetany) ได้
ประเมินผลการเจริญเติบโต ด้วยการชั่งน้ําหนักทุกวัน และตรวจดูระดับโปรตีนในเลือดเป็นระยะๆ ตาม ความเหมาะสม
หายใจลำบาก
เสี่ยงต่อภาวะขาดออกซิเจนเนื่องจากภาวะบวม
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน การหายใจ ชีพจร สีของเล็บ ปลายมือปลายเท้าว่ามีอาการซีดเขียวหรือไม่
2.จัดท่านอนศรีษะสูงเพราะตะทำให้กระบังลมต่ำลง ปอดขยายตัวได้เต็มที่การแลกเปลี่ยนก๊าซก็จะมากขึ้น
3.ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนบนเตียง ลดการใช้ออกซิเจนในการทำกิจกรรมต่างๆ
4.วัด vital sign ทุก 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินสัญญาณชีพและช่วยควบคุมความรุนแรงของภาวะพร่องออกซิเจน
5.ประเมิน O2 Saturation ทุก 4 ชั่วโมง เป็นการวัดระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนวนเลือด
ภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือก
บวม > Anasarca + กดบุ๋ม
การวินิจฉัย
จากการตรวจห้องปฏิบัติการ
อัลบูมินในเลือดต่ำ < 2.5 g/d
โคเลสเตอรอลในเลือดสูงกว่าปกติ > 200 mg/dL
โปรตีนในโปรตีนในปัสสาวะ (3+ - 4+ / > 3.5 g/d + ปัสสาวะมีฟอง )
การรักษา
รักษาความดันเลือดสูง
Bedreat
ให้ยาลดความดัน
ให้วัคซีนป้องกันโรค
รักษาอาการบวม
Steroid
เสี่ยงต่อการติดเชื้อง่ายเนื่องจากการสร้างภูมิคุ้มกันลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
แยกเด็กและเครื่องใช้ของเด็ก
การให้การพยาบาลต้องยึดหลักปราศจากเชื้อ
จัดอาหารที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะอาหารที่มีโปรตีนสูง
แนะนําเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยส่วนบุคคลของเด็ก โดยเฉพาะการทำความสะอาดร่างกายโดยเฉพาะบริเวณขาหนีบ อวัยวะ สืบพันธุ์ เพราะเด็กที่มีอาการบวมมาก ผิวจะบาง มีการเสียดสี ปริเป็นแผลได้ง่าย ต้องดูแลความสะอาด ซับให้แห้ง ตลอด เพื่อป้องกันการติดเชื้อราที่ผิวหนัง
บันทึกการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ชีพจร หายใจ เพื่อประเมินการติดเชื้อ
บุคคลที่ให้การดูแลเด็กจะต้องไม่เป็นโรคติดต่อ
เมื่อเด็กกลับบ้าน จะต้องแนะนําให้เด็กหลีกเลี่ยงการไปในที่ชุมชน หรือใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีไข้เพื่อป้องกันการเกิดโรค
ถ้าเป็นครั้งแรกจะเริ่มให้เพร็ดนิโซโลน 2 mg/gm/d ขนาดสูงสุดไม่เกิน 60mg/d โดยแบ่งให้วันละ 3-4 ครั้ง นาน 4-6 สัปดาห์ แล้วลดยาเหลือ 40mg/dครั้งเดียว วันเว้นวัน อีก 6 สัปดาห์ แล้ว จึงค่อยลดยาลง 0.25 mg/gm/ครั้ง/สัปดาห์ ให้วันเว้นวัน นานประมาณ 6 สัปดาห์
ในกลุ่มที่ไม่ตอบสนองต่อ Steroid
รักษาด้วย Cyto an
รักษาภาวะแทรกซ้อน
เกิดร่วมกับโรคระบบอื่น
ไข้จับสั่น
ซิฟิลิส
ภูมิเเพ้
Sle
เเพ้เกสรดอกไม้
โรคไตอักเสบเฉียบพลัน
สาเหตุ
การอักเสบเกิดการอักเสบเกิดขึ้นหลังจากการติดเชื้ออื่นๆ
พบบ่อย >> Pharyngitis
พยาธิสรีภาพ
Extracellular Antibodies
Intracellular Antibodies
วินิยฉันโรค
ตรวจปัสสาวะพบ
WBC casts
Albumin
RBC
ไม่พบ Bac.
ตรวจเลือด
BUN Creatinine / Uric acid สูง
ESR > ตกเร็วมากในระยะเเรกของโรค
ASO tiger > สูงในกลุ่ม URI
Complement ต่ำ โดยเฉพาะ C3 ต่ำมาก
อาจพบภาวะซีด
การตรวจอื่นๆ
เพราะเชื้อ Pharynx
พบ Streptococcus
อาการและอาการแสดง
ระยะคาบแฝง
ไม่มีอาการใดๆ
พบปัสสาวะมีเลือด >> สองดูด้วยสองดูด้วยกล้องจุลทรรศน์
มีโปรตีนในปัสสาวะ
อาการเริ่มเเรก
บวม
บวมที่หนังตาตอนเช้า
แบบแผนปัสสาวะเปลี่ยนแปลงเนื่องจากหลอดเลือดไตถูกทำลายบวมและขาดเลือดไปเลี้ยง
กิจกรรมการพยยาบาล
1.ดูแลให้พักผ่อนบนเตียง เพื่อป้องกันการทำลายไตมากขึ้น
2.อธิบายให้เข้าใจถึงลักษณะของปัสสาวะที่เปลี่ยนแปลง
3.สังเกตสีและปริมาณของปัสสาวะ บันทึกปริมาณน้ำเข้าออกร่างกาย
4.วัดและบันทึกสัญญาณชีพ เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของโรค
บวมมากที่ขาและหลังทำ
ปัสสาวะเป็นเลือด
มองเห็นด้วยตาเปล่า
ปัสสาวะ < 100 มล./วัน
ไม่มีปัสสาวะ
อาจเกิดการคั่งของโปแตสเซียมและโปรตีนเนื่องจากปัสสาวะน้อย
กิจกรรมการพยาบาล
1.จำกัดอาหารที่มีโพตัสเซียมสูง
2.ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง เนื่องจากสารอาหารกลุ่มคาร์โบไฮเดรตมีโพตัสเซียมต่ำ
3.ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีโปรตีนน้อย ไม่เกินวันละ 0.5 gm/kg.
4.เพิ่มการรับโพตัสเซียม โดยให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
5.บันทึกปริมาณน้ำที่ได้รับและขับออกจากร่างกาย
ระยะรุนแรง
ความดันโลหิตสูง
พูดไม่ได้/จำอะไรไม่ได้
ชัก
มองเห็นผิดปกติ
มีการคั่งของเกลือและน้ำในหลอดเลือดและการกรองปัสสาวะลดลงทำให้ความดันโลหิต
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับการพักผ่อน ลดการทำกิจกรรมบนเตียงให้น้อยลง
จำกัดน้ำ โดยให้น้ำไม่ให้เกินปัสสาวะที่ออกมา เพราะการที่ให้น้ำเข้าไปในขณะที่ปัสสาวะน้อย จะมีการคั่งของน้ำมากยิ่งขึ้น
จำกัดเกลือทุกรายที่มีอาการบวมและมีความดันโลหิตสูง
ชั่งน้ำหนักและบันทึกปริมาณน้ำเข้าออก
ให้ยาตามแผนการรักษา
ให้สังเกตอาการต่างๆโดยเฉพาะสัญาณชีพ หรือได้รับยาที่มีการออกฤทธ์เร็วและสั้น
ภาวะเลือดคั่ง
หายใจลำบาก
ฟังเสียงปอดได้เสียง rale
ปัสสาวะน้อยหรือไม่มีปัสสาวะ
การรักษา
ให้ยาปัฎิชีวนะ
ควบคุควบคุมอาการบวมและป้องกันไม่ให้เลือดคั่ง >> จำกัดเกือ /ให้ยาขับปัสสาวะ
รักษาความดันโลหิตสูง
รักษาโดยยาลดความดันโลหิต
ควบคุมสมดุลสารน้ำในร่างกาย >> มีการคั่ง Urea และ Creatinine จึงจำกัดน้ำ
อาหาร >> จำกัดเกลือทุกรายที่มีอาการบวม และ BP สูง
ผักผ่อนบนต้อง Bedreat
ความหมาย
ภาวะที่มีความผิดปกติของ glomerular basement membrane (GBM) เป็น เหตุให้มีไข่ขาวรั่วออกมามากผิดปกติในปัสสาวะ ทําให้ปริมาณอัลบูมินในเลือดต่ำลงมากกว่าปกติ ร่วมกับมีอาการบวม และระดับไขมันในเลือดสูงขึ้น
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน
ความหมาย
เกิดจากความผิดปกติของต่อมไทรอยด์เอง การสร้างไทรอยด์ฮอร์โมน ขาดสารไอโอดีน ภาวะไฮโปไทรอยด์ต่ำ
สาเหตุเกิดจาก
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด
1.ความผิดปกติของการเจริญเติบโตของต่อม thyroid dysgenesis
2.ความผิดปกติในการสร้างฮอรโมน dyshornonogenesis
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนที่เกิดภายหลัง
1.ผ่าตัดต่อมไทรอยด์
2.การฉายแสง
3.การติดเชื้อต่อมไทรอยด์เป็นพิษ (thyrotoxicosis)
4.ขาดธาตุไอโอดีน
พยาธิสภาพ
ฮอร์โมน Thyroxin/Tetaiodothyronine (T4) ,Triodothyronin (T3) และ Thyrocalcitonin ทำหน้าที่รักษาระดับแคลเซียมในเลือดอยู่ในภาวะปกติ
เมื่อขาดฮอร์โมน
1.การเผาผลาญลดลง
อาการ
ผิวหนังซีดและเย็นแขนขาเป็นลาย
เนื่องจากการไหลเวียนเลือดอวัยวะส่วนปลายไม่ดี
กล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง จะพบท้องป่อง สะดือจุน
ลำไส้ทำงานน้อยลงทำให้ท้องผูก
การพยาบาล
1 more item...
การพยาบาล
มีอุณหภูมิกายต่ำ เนื่องจากการเผาผลาญในร่างกายลดลง
1.ดูแลให้ความอบอุ่นทารกแรกเกิด อาจจัดให้อยู่ในตู้อบ ป้องกันการสูญเสียความร้อนโดยไม่จำเป็น
2.ขณะอาบน้ำ/เช็ดตัวให้เด็กต้องไม่ให้มีลมโกรก เพื่อไม่ให้สูญเสียความร้อนออกจากร่างกาย
3.ดูแลเรื่องสิ่งแวดล้อม เช่น เตียงไม่ควรอยู่บริเวณที่ถูกลมโกรกโดยตรง 4.ประเมินอุณหภูมิกายอย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
2.การเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
อาการ
เด็กจะมี epiphyseal center ของกระดูกเกิดขึ้นช้ากว่าวัย ความยาวของกระดูกเพิ่มช้า มีผลทำให้เด็กตัวเตี้ย (dwarfism)
สมองเจริญช้า สติปัญญาต่ำกว่าปกติ มีพัฒนาการของร่างกายช้า
การพยาบาล
1 more item...
ฟันขึ้นช้ากว่าปกติ และทันทีที่ฟันขึ้นแล้วจะผุและหักง่าย
3.ระบบผิวหนัง กระดูก และผม
อาการ
บวมบริเวณใบหน่า หลังมือ อวัยเพศภายนอก ผิวสีเหลืองเข้ม หนา หยาบ ส่วนผมจะแห้งเปราะบาง ฟันงอกช้า
4.ระบบหัวใจและหลอดเลือด
อาการ
-ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง ชีพจรช้า ความดันชีพจรแคบ
มีผิวหนังซีดและเย็น
-ไวต่ออุณหภูมิที่ต่ำลง จากการที่เลือดมาเลี้ยงที่ผิวหนังลดลง
5.ระบบหายใจ
อาการ
-หายใจมีเสียงครืดคราด
-ร้องเสียงแหบ
-น้ําลายฟูมปาก
-เป็นหวัดบ่อย
-อาจหายใจ ลําบาก เนื่องจากลิ้นโตคับปาก ฝาปิดกล่องเสียงและกล่องเสียงบวม
ระบบประสาท
อาการ
ปัญญาอ่อนถ้าได้รับการรักษาช้า มีหูหนวกร่วม
ระบบกล้ามเนื้อ
อาการ
อาการปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อแข็งตัว ตะคริวและอ่อนแรง
8.ระบบทางเดินอาหาร
อาการ
มีการเคลื่อนไหวลดลงของหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลําไส้เล็ก และลําไส้ใหญ่ ส่งผลให้มีอาการท้องผูก
9.ระบบเลือด
อาการ
กระบวนการสร้างเม็ดเลือดลดลง จึงทำให้ซีดไม่ค่อยรุนแรง
การรักษา
1 more item...
10.ระบสืบพันธุ์
อาการ
วัยรุ่น จะทําให้การพัฒนาเป็นหนุ่มเป็นสาวช้าลง ในเพศหญิงอาจทํา ให้ไข่ไม่ตก ประจําเดือนผิดปกติหรือมาช้าได้ บางรายมีน้ํานมไหลผิดปกติ และในบางรายอาจมาด้วยการพัฒนาเป็น หนุ่มสาวเร็วกว่าปกติได้ เนื่องจากมีการกระตุ้นการทํางานของ TRH และ TSH
11.ระบบต่อมไร้ท่อ
อาการ
การทํางานของเซลล์ กระดูก osteoclast และ Osteoblast ลดลง ส่งผลทําให้กระบวนการสร้าง และการสลายของกระดูกลดลง
12.การเปลี่ยนแปลงของเมทาบอลิซึม
อาการ
มีการลดลงของการสร้างความร้อนในร่างกายเนื่องจากอัตราการเผาผลาญลดลง มีอุณหภูมิในร่างกายลดลง ทําให้เด็ก มีอาการทนต่ออากาศเย็นได้ลดลง พบการใช้สารอาหารลดลง เด็กจะมีความอยากอาหารและการรับประทานอาหาร ลดลง
การวินิจฉัยโรค
ควรติดให้ทารกมาเจาะเลือดวัดระดับFT4(Free T4)และTSH ซ้ำอีกครั้ง เพื่อยืนยันผลเลือดว่ามีระดับ T4 และ FT4ต่ำ และTSHสูง
การป้องกันโรค
การตรวจหาระดับTSH เมื่อทารกอายุ48 hr. เป็นการค้นหาทารกที่เป็น primary hypothyroid แต่กำเนิด ค่าTSH ค่าผิดปกติ คือ >25 มิลลิยูนิต/ลิตร ถ้า>=30 มิลลิยูนิต/ลิตร ให้ติดตามเด็กกลับมาตรวจ thyroid function test ต่อเพื่อตรวจหาความผิดปกติ
การรักษา
การรักษาด้วยยารับประทานเมื่อเด็กมีอายุมากขึ้น ขนาดของยาที่ให้จะให้ตามช่วง
อายุ 3-12 เดือน ให้ขนาด 6-10 ไมโครกรัม/กิโลกรัม/วัน
อายุ 1-5 ปี ให้ขนาด 4-6 ไมโครกรัม/กิโลกรัม/วัน
อายุ 6-12 ปี ให้ขนาด 3-5 ไมโครกรัม/กิโลกรัม/วัน
อายุ 6-12 ปี ให้ขนาด 3-5 ไมโครกรัม/กิโลกรัม/วัน
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน
Pylonephritis
ปวดท้อง ปวดใต้ชายโครง คลื่นไส้ อาเจียน
ไข้หนาวสั่น
เช็ดตัวลดไข้ในรายที่มีไข้สูง กระตุ้นให้เด็กดื่มน้ำมากๆ ประมาณ 1,000 มิลลิลิตร/8ชั่วโมง
อ่อนเพลีย
ดูแลให้พักผ่อนและให้อาหารอ่อนเพื่อลดการใช้พลังงานของร่างกาย
ในทารกแรกเกิดจะไม่มีอาการเฉพาะที่ จะมีอาการของ Sepsis เช่น น้ำหนักลด
ชั่งน้ำหนักเด็กวันละครั้งเพื่อเป็นการประเมินภาวะโภชนาการ
ดูแลให้เด็กได้รับสารอาหารที่มีคุณภาพ มีพลังงานสูง
พบอุบัติการณ์ในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
เชื้อที่มีอยู่ในบริเวณลำไส้
E.coli และ Klebsiella
สามารถเข้าสู่ระบบทางเดินปัสสาวะ 3 ทาง
ทางกระแสเลือด
เข็มฉีดยา
เชื้อรา Condida ในปาก
แผลบริเวณผิวหนัง
Staphylococus aureus
การแพร่กระจายโดยตรง
แพร่กระจายไปสู่ไต กรวยไต เนื้อไต
บริเวณทวารหนัก ฝีเย็บก่อนย้อนกลับไปท่อปัสสาวะเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ
ทางน้ำเหลือง
การติดเชื้อของลำไส้อย่างรุนแรง
การเป็นหนองของบริเวณหลังเยื่อบุช่องท้อง
การอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
Cystitic
กดเจ็บบริเวณ Suprapubic มักไม่มีไข้ ในเด็กโตอาจกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะรดที่นอน
แนะนำและกระตุ้นให้เด็กถ่ายปัสสาวะทันทีเมื่อรู้สึกปวด ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
UA
พบปัสสาวะขุ่น เป็นด่าง ph > 7 มีกลิ่นเหม็น
U/C
เก็บปัสสาวะเพาะเชื้อ
ติดตามและประเมินผลการตรวจปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะแสบขัด ขุ่น มีเลือดในปัสสาวะ
การรักษา
การผ่าตัด
ใช้ในกรณีที่ตรวจพบว่าการติดเชื้อเนื่องจากมีการอุดตันหรือความผิดปกติ แต่กำเนิดของระบบทางเดินปัสสาวะ
ใช้ยาปฏิชีวนะ
ในทารกแรกเกิดหรือเด็กเล็กที่มีไข้สูงหรือรายที่มีการอักเสบของกรวยไต
Ampicillin ร่วมกับ Gentamicin
เด็กโต
Aminoglycosides หรือ Cephalosporin
ในรายที่ไม่รุนแรง
Bactrim
Amocillin
Augmentin
Norfloxacin
อาจใช้ในบางราย
การพยาบาล
ดูแลให้เด็กได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
แนะนำให้เด็กดื่มน้ำมากๆ ประมาณ 1,000 มิลลิตร/8ชั่วโมง เพื่อช่วยเจือจางและกำจัดเชื้อโรคออกจากกระเพาะปัสสาวะและระบายความร้อนออกจากร่างกย
แนะนำและกระตุ้นให้เด็กถ่ายปัสสาวะทันทีเมื่อรู้สึกปวด ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ
แนะนำการทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์หลังถ่ายปัสสาวะทุกครั้ง ไม่ควรอาบน้ำในการแช่ในอ่างหรือแม่น้ำ ลำคลอง เพราะจะทำให้เชื้อโรคเข้าสู่ทางเดินปัสสาวะได้ง่าย
เบาจืด(Diabetes Insipdus)
เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของน้ำได้ทำให้มีอาการปัสสาวะออกมาก ซึ่งเกิดได้น้อยในคนทั่วไป โดยมีผลมาจากความผิดปกติของฮอร์โมนแอนติไดยูเรตินา(Antidiuretic Hormone)
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติทางสมอง ทำให้สมองสร้าง ADH ได้น้อยกว่าปกติ
เกิดความผิดปกติที่ไต ทำให้เซลล์ไตไม่ตอบสนองต่อฮอร์โมนADH ทำให้ไตเสื่อม
พยาธิสภาพ
ร่างกายขาดฮอร์โมนADH ไตส่วนdistal tubule ดูดกลับน้ำน้อยลงทำให้มีการขับปัสสาวะมาก ทำให้ร่างกายอยู่ในภาวะขาดน้ำ ความเข้มข้นของเลือดสูง ระดับโซเดียมในเลือด serum osmolarity สูงขึ้น
อาการและอาการแสดง
ในเด็กโต ปัสสาวะมาก ปัสสาวะรดที่นอน ดื่มน้ำมาก ในเด็กทารกเลี้ยงไม่โต ดูดนมน้อย อาเจียน ท้องผูก ดื่มน้ำมากกว่านม มีไข้ไม่ทราบสาเหตุ
การวินิจฉัย
ปริมาณของปัสสาวะ ในแต่ละวันจะพบมากกว่า2 ลิตร ในแตละวัน
ความเข้มข้นของปัสสาวะต่ำ urine specific gravity<1.005ในทารกและน้อยกว่า0.010 ในเด็กโต
ตรวจเลือดพบโซเดียม>145 mEq/L และplasma osmolarity>290 mOsm/Kg
การตรวจ CT brain หรือ MRI brain เพื่อหาความผิดปกติของสมอง
การตรวจทดสอบการขาดน้ำ (Water deprivation test)
การรักษา
รักษาสาเหตุของการหลั่งADH ผิดปกติ เช่น ผ่าตัด ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ฮอร์โมนสังเคราะห์ทดแทน(Synthetiv ADH) ซึ่งมีฤทธิ์สั้นและยาว
ในกรณีที่ไตไม่ตอบสนองต่อ ADH ผู้ป่วยเด็กจะได้รับการจำกัดโปรตีนและโซเดียมและยาขับโซเดียม
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดน้ำและไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลท
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลการได้รับน้ำทั้งทางปาก ทางหลอดเลือดดำ ตามแผนการรักษา
สังเกตและบันทึกอาการขาดน้ำและไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลท์
ดูแลให้ได้รับการเก็บสิ่งส่งตวจ (specimen)
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำและดูแลให้ดื่มน้ำมากๆตามแผนการรัษา
สอนผู้ป่วยเด็กไม่ให้กลั้นปัสสาวะ
สังเกตและบันทึกลักษณะ สีและจำนวนของปัสสวะ
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดภาวะติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ เช่น ปวดแสบเวลาขับถ่ายปัสสาวะ ปวดท้องน้อย ปวดบั้นเอว