Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยาสำหรับครู activities, project-approach-1, ดาวน์โหลด (6), cartoon…
จิตวิทยาสำหรับครู
ความหมายของจิตวิยา :star:
เป้าหมาย
Explanation Behavior เพื่ออธิบายพฤติกรรม
Prediction Behavior เพื่อคาดการณ์ คาดเดาพฤติกรรมได้
Understanding Behavior เพื่อให้เข้าใจ
Control Behavior ควาบคุมพฤติกรรมอารมณ์ที่ไม่พึงประสงค์
Application นำไปประยุกต์ใช้
ความสำคัญ
ช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของนักเรียน
ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล เพื่อจะได้ช่วยนักเรียนเป็นรายบุคคลให้พัฒนาตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
ช่วยครูให้รู้จักลักษณะนิสัย (Characteristics) ของนักเรียนที่ครูต้องสอนโดยทราบหลักพัฒนาการทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และบุคลิกภาพเป็นส่วนรวม
ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัย และขั้นพัฒนาการของนักเรียน เพื่อจูงใจให้นักเรียนมีความสนใจและอยากจะเรียนรู้
ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น แรงจูงใจ อัตมโนทัศน์ และการตั้งความคาดหวังของครูที่มีต่อนักเรียน
ความหมาย
เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเพื่อให้ผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจความแตกต่างและความต้องการของผู้เรียนในอันที่จะสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนไปสู่แนวทางอันพึงประสงค์ได้โดยผู้สอนควรมีความรู้ ความเข้าใจ
พัฒนาการแต่ละช่วงวัย :star:
วัยทารก :red_flag:
ด้านร่างกาย
เติบโตเร็วกว่าวัยอื่น
เริ่มเดินเตาะแตะเพื่อสำรวจพื้นที่ต่าง ๆ
สัมผัสและจับสิ่งของได้
เริ่มหยิบอาหารกินเอง
ด้านสติปัญญา
ส่งเสียงอ้อแอ้และพูดคำง่าย ๆ ได้
เลียนแบบการกระทำของผู้ใหญ่
เข้าใจประโยคที่คนใกล้ชิดสื่อสารเข้ามา
ด้านอารมณ์
มักฉุนเฉียวเวลาถูกขัดใจ
มีอารมณ์อิจฉาเมื่อไม่ได้รับความรัก
ชอบแสดงความรักโดยการกอด
ด้านสังคม
จดจำใบหน้าพ่อแม่หรือคนใกล้ชิดได้
รู้จักแสดงความรู้สึกว่าชอบหรือไม่ชอบ
รู้สึกสนุกเมื่อได้เล่น และจะร้องไห้เมื่อหยุดเล่น
วัยเด็ก :red_flag:
ด้านร่างกาย
ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่และมัดเล็กได้ดี
ช่วงปลายวัย เด็กหญิงจะโตเร็วกว่าเด็กชาย
ด้านสติปัญญา
พูดได้ชัดเจนทั้งน้ำเสัยงและจังหวะ
ภาษาเขียนดีขึ้นเป็นลำดับ
คิดได้ซับซ้อนและมีเหตุผลมากขึ้น
ด้านอารมณ์
สนุกสนานร่าเริง
ควบคุมอารมณ์ได้ดี แต่อาจหงุดหงิดเวลาแก้ไขปัญหาไม่ได้
ด้้านสังคม
เข้ากับสังคม เล่นเป็นกลุ่ม
ยอมรับความเห็นและการกระทำผู้อื่น
ปรับตัวเข้ากฎระเบียบของโรงเรียน
วัยรุ่น :red_flag:
ด้านร่างกาย
มีลักษณะเพสขั้นสองปรากฎชัด
วิตกกังวลหมกมุ่นเกี่ยวกับร่างกายตนเอง
ด็กผู้ชายจะเปลี่ยนแปลง เข้าสู่วัยรุ่นโดยเกิดฝันเปียก ส่วนเด็กผู้หญิงจะเข้าสู่วัยรุ่นโดยเริ่มมีประจำเดือน
ด้านสติปัญญา
คิดเป็นเหตุเป็นผล
รู้จักแก้ปัญหาที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น
มีความคิดเชิงนามธรรมมากขึ้น
ด้านอารมณ์
อารมณ์เปลี่ยนแปลงเร็วง่าย
ต้องการเป็นอิสระ
มีความคิดเชิงอุดมคติเริ่มแยกแยะความผิดชอบชั่วดีมีมโนธรรมของตนเอง
ด้านสังคม
ต้องการเป็นที่ยอมรับของเพื่อน
ชอบสุงสิงกับเพื่อนเพศเดียวกัน
เริ่มคลายความผูกพันธ์ที่มีต่อพ่อแม่
วัยผู้ใหญ่ :red_flag:
ด้านร่างกาย
ร่างกายเจริญเติบโตสมบูรณ์
พร้อมแก่การสืบพันธ์
มีการพัฒนาความสูงมาจากวัยรุ่น
ด้านสติปัญญา
สมองพัฒนาเต็มที่
ความจำเกี่ยวกับตัวเลขการคำนวณค่อย ๆลดลง
ผู้ใหญ่จะมีความคิดเปิดกว้าง ยืดหยุ่นมากขึ้น
ด้านอารมณ์
มีความกังวลใจด้านสุขภาพ
ต้องประสบกับความตึงเครียดทางอารณ์ในเรื่องต่าง ๆ
มีพัฒนาการด้านอารมณ์รัก
ด้านสังคม
เริ่มสร้างหลักฐานในชีวิต โดยการประกอบหน้าที่การงาน
มีคู่ครอง มีบุตร เป็นต้น
มีความสัมพันธ์กันอย่างไว้เนื้อเชื่อใจและนับถือซึ่งกันและกัน
วัยสูงอายุ :red_flag:
ด้านร่างกาย
ผิวหนังจะแห้งหยาบ
ฟันใยวัยชราจะร่อยหรอไปหมด
ดวงตาฝ้าฟาง
ผมจะบางและหงอก
ทฤษฎีพัฒนาการและการประยุกต์ใช้ :star:
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
แนวความคิด
การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง
ลำดับขั้นพัฒนา
ขั้นที่ 1 ประสาทการรับรู้และการเคลื่อนไหว (อายุ 0 – 2 ปี)
ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (อายุ 2 – 7 ปี)
ขั้นที่ 3 ขั้นปฏิบัติการคิดแบบเป็นรูปธรรม (อายุ 7 – 11 ปี)
ขั้นที่ 4 ขั้นปฏิบัติการคิดแบบเป็นนามธรรม (อายุ 12 ปีขึ้นไป)
การนำไปใช้ในการจัดการศึกษา / การสอน
นักเรียนที่มีอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกัน
เน้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนโดยต้องเน้นให้นักเรียนใช้ศักยภาพของตนเองให้มากที่สุด
ประสบการณ์ทางกายภาพ จะเกิดขึ้นเมื่อนักเรียนแต่ละคนได้ปฏิสัมพันธ์กับวัตถุต่าง ในสภาพแวดล้อมโดยตรง
ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์จะเกิดขึ้นเมื่อนักเรียนได้พัฒนาโครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิดรวบยอดที่เป็นนามธรรม
ทฤษฎีพัฒนาการทางสมองของบรูเนอร์
แนวคิด
เชื่อว่าพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเกิดจากกระบวนการภายในอินทรีย์ (Organism) เน้นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมที่แวดล้อมเด็ก ซึ่งจะพัฒนาได้ดีเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก
ลำดับขั้นพัฒนา
ขั้นการกระทำ เด็กเรียนรู้จากการกระทำและการสัมผัส
ขั้นคิดจินตนาการหรือสร้างมโนภาพ เด็กเกิดความคิดจากการรับรู้ตามความเป็นจริง และการคิดจากจินตนาการด้วย
ขั้นใช้สัญลักษณ์และคิดรวบยอด เด็กเริ่มเข้าใจเรียนรู้ความ สัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว
แนวทางในการจัดการเรียนการสอน
ผู้เรียนต้องมีแรงจูงใจภายใน มีความอยากรู้ อยากเห็นสิ่งต่างๆรอบตัว
โครงสร้างของบทเรียนซึ่งต้องจัดให้เหมาะสมกับผู้เรียน
การจัดลำดับความยาก-ง่ายของบทเรียนโดยคำนึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน
การเสริมแรงของผู้เรียน
ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของวิก็อตสกี้
ระดับเชาว์ปัญญา
เชาว์ปัญญาขั้นสูง คือเชาว์ปัญญาที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่ที่ให้การอบรม เลี้ยงดู
2.1 ภาษาที่ใช้ในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เรียกว่า ภาษาสังคม
2.2 ภาษาที่พูดกับตนเอง 3 – 7 ขวบ
2.3 ภาษาที่พูดในใจเฉพาะตน 7 ขวบขึ้นไป
เชาว์ปัญญาขั้นเบื้องต้น คือเชาว์ปัญญามูลฐานตามธรรมชาติโดยไม่ต้องเรียนรู้
การนำไปประยุกต์ใช้
ครูผู้สอนควรให้มีการจัดการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง ผู้เรียนจะต้องฝึกฝนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
การสอนจะเปลี่ยนจากการถ่ายทอดให้ผู้เรียนได้รับสาระความรู้ที่แน่นอน ตายตัว ไปสู่การสาธิตกระบวนการแปลและสร้างความหมายที่หลากหลาย
ในการจัดการเรียนการสอน ครูจะต้องพยายามสร้างบรรยากาศทางสังคม จริยธรรม ให้เกิดขึ้น
ครูจะมีบทบาทแตกต่างไปจากเดิม คือ จากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้และควบคุมการเรียนรู้ เปลี่ยนไปเป็นการให้ความร่วมมืออำนวยความสะดวก
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของการ์ดเนอร์
พหุปัญญา 8 ด้าน
ปัญญาด้านภาษา (Linguistic Intelligence)
ปัญญาด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ (Logical-Mathematical Intelligence)
ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ (Visual-Spatial Intelligence)
ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว (Bodily Kinesthetic Intelligence)
ปัญญาด้านดนตรี (Musical Intelligence)
ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal Intelligence)
ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence)
ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา (Naturalist Intelligence)
การนำไปประยุกต์ใช้
แต่ละคน ควรได้รับการส่งเสริมให้ใช้ปัญญาด้านที่ถนัด เป็นเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้
ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ควรมีรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้สอดรับกับปัญญาที่มีอยู่หลายด้าน
ในการประเมินการเรียนรู้ ควรวัดจากเครื่องมือที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถครอบคลุมปัญญาในแต่ละด้าน
ทฤษฎีจิตสังคมของอิริกสัน
แบ่งพัฒนาการทางบุคลิกภาพออกเป็น 8 ขั้น
ขั้นที่ 1 ระยะทารก (Infancy period) อายุ 0-2 ปี
ขั้นที่ 2 วัยเริ่มต้น (Toddler period) อายุ 2-3 ปี
ขั้นที่ 3 ระยะก่อนไปโรงเรียน (Preschool period) อายุ 3-6 ปี
ขั้นที่ 4 ระยะเข้าโรงเรียน (School period) อายุ 6-12 ปี
ขั้นที่ 5 ระยะวัยรุ่น (Adolescent period) อายุ 12-20 ปี
ขั้นที่ 6 ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ (Early adult period) อายุ 20-40 ปี
ขั้นที่ 7 ระยะผู้ใหญ่ (Adult period) อายุ 40-60 ปี
ขั้นที่ 8 ระยะวัยสูงอายุ (Aging period) อายุประมาณ 60 ปีขึ้นไป
การนำไปใช้
การจัดการเรียนการสอนครูควรให้จัดให้มีกิจกรรมให้เด็กได้แสดงออกทั้งในด้านของความคิด ด้านสติปัญญา ด้านความสามารถ ให้อิสระทางความคิดต่อเด็ก ให้เด็กได้สร้างผลงานต่างๆ ด้วยตนเอง ให้เด็กเกิดความภูมิใจในตัวเอง
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมัน ฟรอยด์
แบ่งจิตออกเป็น 3 ระดับ
จิตสำนึกหรือจิตรู้สำนึก (Conscious mind)
จิตกึ่งสำนึก (Subconscious mind)
จิตไร้สำนึกหรือจิตใต้สำนึก (Unconscious mind)
โครงสร้างทางจิต
อีโก้ (Ego)
อิด (Id)
ซุปเปอร์อีโก้ (Superego)
ขั้นพัฒนาการ
ขั้นปาก (Oral Stage) 0-18 เดือน
ขั้นทวารหนัก (Anal Stage) 18 เดือน – 3 ปี
ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage) 3-5 ปี
ขั้นแฝง (Latency Stage)
ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage)
ประเภทกลไกการป้องกันตัว
การเก็บกด (Repression)
การป้ายความผิดให้แก่ผู้อื่น (Projection)
การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง (Rationalization)
การถดถอย (Regression)
การแสดงปฏิกิริยาตรงข้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง (Reaction Formation)
การสร้างวิมานในอากาศหรือการฝันกลางวัน (Fantasy หรือ Day dreaming)
การแยกตัว (Isolation)
การหาสิ่งมาแทนที่ (Displacement)
การเลียนแบบ (Identification)
ทฤษฎีพัฒนการทางจริยธรรมของโคลนเบอร์ก
ลำดับขั้นพัฒนา
ระดับที่ 1 ระดับก่อนมีจริยธรรมหรือระดับก่อนกฎเกณฑ์สังคม
ขั้นที่ 1 การถูกลงโทษและการเชื่อฟัง
ขั้นที่ 2 กฎเกณฑ์เป็นเครื่องมือเพื่อประโยชน์ของตน
ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์สังคม
ขั้นที่ 4 กฎและระเบียบ
ขั้นที่ 3 ความคาดหวังและการยอมรับในสังคม สำหรับ “เด็กดี”
ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมตามหลักการด้วยวิจารณญาณ หรือระดับเหนือกฎเกณฑ์สังคม
ขั้นที่ 5 สัญญาสังคมหรือหลักการทำตามคำมั่นสัญญา
ขั้นที่ 6 หลักการคุณธรรมสากล
การนำไปประยุกต์ใช้
าในช่วงก่อน 10 ขวบเด็กจะเรียนด้านจริยธรรมจากผลของการกระทำของตนเอง ในช่วงวัยนี้เราควรชี้แจงถึงสิ่งที่ถูกต้องอย่างเหมาะสม มีการใช้คำชมเชย ของรางวัลกับเด็กที่กระทำตนเป็นเด็กดี
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้ :star:
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bloom
จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ออกเป็น
ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
ด้านเจตพิสัย (Affective Domain)
ทฤษฎีการเรียนรู้
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
ขั้นที่ 1 เสียงกระดิ่ง (CS) ไม่มีน้ำลาย ผงเนื้อ (UCS) น้ำลายไหล (UCR)
ขั้นที่ 2 เสียงกระดิ่ง น้ำลายไหล (UCR) และผงเนื้อ (UCS) ทำขั้นที่ 2 ซ้ำกันหลาย ๆ ครั้ง
ขั้นที่ 3 เสียงกระดิ่ง (CS) น้ำลายไหล (CR)
สรุป สุนักน้ำลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง แสดงว่าสุนัขเกิดเการเรียนรู้ เพราะสามารภเชื่อโยงเสียงกระดิ่งกับการให้อาหาร
การนำไปประยุกต์ใช้
การวางเงื่อนไข เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ด้วย โดยปกติผู้สอนสามารถทำให้ผู้เรียนรู้สึกชอบหรือไม่ชอบเนื้อหาที่เรียนหรือสิ่งแวดล้อมในการเรียน
การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัวผู้สอน เราอาจช่วยได้โดยป้องกันไม่ให้ผู้สอนทำโทษเขา
สร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียน อันเป็นการวางเงื่อนไขที่ดี
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบกระทำ
องค์ประกอบของพฤติกรรม
Antecedents คือ เงื่อนไขนำหรือสิ่งเร้าที่กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม
Behavior คือ พฤติกรรมที่แสดงออก
Consequences หรือผลกรรม เกิดขึ้นหลังการทำพฤติกรรม
หลักการและแนวคิดที่สำคัญ
การวัดพฤติกรรมตอบสนอง
อัตราการตอบสนองและการเสริมแรง
ประเภทของตัวเสริมแรง
3.1 ตัวเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcer)
3.2 ตัวเสริมแรงลบ (Negative Reinforcer)
3.3 ตัวเสริมแรงปฐมภูมิ (Primary Reinforcer)
3.4 ตัวเสริมแรงทุติยภูมิ
การนำไปใช้
ครูควรให้การเสริมแรง โดยการชมเชยหรือให้แรงจูงใจ โดยวิธีการต่าง ๆ เช่น การให้รางวัล
เราจะให้การเสริมแรงเฉพาะในเรื่องที่ต้องการเพื่อให้เกิดเป็นนิสัยติดตัวดังนั้นถ้าเราต้องการให้เด็กมีพฤติกรรมใหม่ในเรื่องใด ก็ควรให้การเสริมแรงพฤติกรรมนั้น
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
กฎการเรียนรู้
กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
กฎแห่งการฝึกหัด(Law o f Exercise)
กฎแห่งความพอใจ(Law of Effect)
การประยุกต์ใช้
ในการเรียนการสอนครูต้องให้ความสำคัญ และความเข้าใจในความแตกต่างของผู้เรียน
การวางเงื่อนไข ครูควรมีการวางเงื่อนไขในการเรียน เช่น หากผู้เรียนสอบหรือทำผลงานได้สำเร็จจะให้ทำกิจกรรมนันทนาการเพื่อคลายความเครียด
ในการสอน ควรมีการใช้การเสริมแรงทางบวกแก่ผู้เรียน เช่น การให้คะแนน
ครูผู้สอนไม่ควรใช้การลงโทษที่รุนแรงเกินไป เพราะนอกจากจะไม่เกิดการเรียนรู้แล้วยังทำให้ผู้เรียนผู้เรียนเกิดความอคติอีกด้วย
กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยการหยั่งเห็น
กระบวนการเรียนรู้
รับรู้ปัญหาเป็นส่วนรวม
หาความสัมพันธ์และความแตกต่างของส่วนย่อย
การจัดแบบของการรับรู้ใหม่
เกิดการหยั่งเห็น
แก้ปัญหา
เกิดการเรียนรู้
การประยุกต์ใช้
ในการสอนครูควรจะให้ผู้เรียนมองเห็นโครงสร้าง ทั้งหมดของเรื่องที่จะสอนก่อน เพื่อให้เด็กเกิดการรับรู้ เป็นส่วนรวม แล้วจึงแยกส่วนออกมาสอนเป็นตอนๆ
ฝึกให้ผู้เรียนสามารถโยงความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ที่เรียนไปแล้วกับความรู้ใหม่ว่ามีความแตกต่าง
นำไปใช้ในการทำความเข้าใจบุคคลว่า ควรมองเขาในภาพรวม ( The Whole Person ) คือ การศึกษาคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลกับความมีเหตุผล
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ
ขั้นพัฒนาการ
เอนแอคทีฟ (Enactive mode) วิธีการเรียนรู้ในขั้นนี้จะเป็นวิธีที่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดยการสัมผัส จับต้องด้วยมือ ผลัก ดึง รวมถึงการใช้ปากกับวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัว
ไอคอนนิค (Iconic mode) เมื่อเด็กสามารถที่จะสร้างจินตนาการ หรือมโนภาพ (Imagery)ขึ้นในใจได้ เด็กจะสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆในโลกได้ด้วย Iconic mode
วิธีการที่ใช้สัญลักษณ์ หรือ Symbolic mode วิธีการนี้ผู้เรียนจะใช้ในการเรียนได้ เมื่อผู้เรียนมีความสามารถที่จะเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรม
การนำไปใช้
กระบวนความคิดของเด็กแตกต่างกับผู้ใหญ่
เน้นความสำคัญของผู้เรียน
ในการสอนควรจะเริ่มจากประสบการณ์ที่ผู้เรียนคุ้นเคย หรือประสบการณ์ที่ใกล้ตัวไปหาประสบการณ์ที่ไกลตัว
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล
แบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 4 ประเภท
การเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย (Meaningful Reception Learning)
การเรียนรู้โดยการรับแบบท่องจำโดยไม่คิดหรือแบบนกแก้วนกขุนทอง (Rote Reception Learning)
3.การเรียนรู้โดยการค้นพบอย่างมีความหมาย (Meaningful Discovery Learning)
การเรียนรู้โดยการค้นพบแบบท่องจำโดยไม่คิดหรือแบบนกแก้วนกขุนทอง (Rote Discovery Learning)
การประยุกต์ใช้
นำเสนอกรอบ หลักการกว้างๆ ก่อนที่จะให้เรียนรู้ในเรื่องให
แบ่งบทเรียนเป็นหัวข้อที่สำคัญ และบอกให้ทราบเกี่ยวกับหัวข้อสำคัญที่เป็นความคิดรวบยอดใหม่ที่จะต้องเรียน
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
หลักการเรียนรู้
ผู้เรียนอาจมีผู้ให้คำปรีกษา
ผู้เรียนจะควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง
กระบวนการสร้างความรู้
ให้โอกาศเด็กทำกิจกรรมที่สร้างความรู้ใหม่ขึ้นเอง ไม่ใช่รับอย่างเดียว
กระบวนการที่มีความหมายกับผู้เรียนจะมรประสิทธิภาพสูงสุดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด
การประยุกต์ใช้
ผู้สอนต้องให้บริบทการเรียนรู้ที่มีความหมาย เพื่อสนับสนุน แรงจูงใจภายในของผู้เรียน
สร้างรูปแบบการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากสิ่งที่รู้แล้วไปสู่สิ่งที่ไม่รู้ รูปแบบนี้จะคล้ายกับ ทฤษฎีการเรียนรู้
น้นประโยชน์ของความผิดพลาด แต่ทั้งนี้การผิดพลาดนั้นจะเกิดประโยชน์ก็ต่อเมื่อเป้า ประสงค์ของกิจกรรมนั้น ชัดเจน
ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ
ขั้นตอน
1.การบันทึกและสัมผัส
2.ความจำระยะสั้น
ความจำระยะยาว
ทฤษฎีความรู้เกี่ยวกับความคิดของตัวเอง
ปัจจัย
บุคคล
งาน
ยุทธศาสตร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
3 สิ่งที่มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน
พฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งของบุคคล
บุคคล
สิ่งแวดล้อม