Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ (Urinary system) - Coggle Diagram
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ (Urinary system)
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ประกอบด้วยอวัยวะต่างๆดังนี้
ไต (Kidneys)
หลอดไต หรือท่อไต (Ureters)
กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder)
หลอดปัสสาวะ หรือท่อปัสสาวะ(Urethra)
หน้าที่สำคัญของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
รักษาสมดุลของน้ำ สารพวกเกลือแร่ต่างๆ
เลือกสารขับถ่ายต่างๆที่เป็นพิษออกไป
ควบคุมสมดุลกรด-ด่างในร่างกาย
สร้างฮอร์โมน renin, erythropoetin และ calcitriol
ไต (Kidney)
มีอยู่2ข้างรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว วางตัวอยู่ด้านหลังของเยื่อบุช่องท้อง (Retroperitoneum) เหนือเอวเล็กน้อย อย่รูะหว่างกระดูกสันหลังระดับ T12 - L3 (ไตซ้ายอยู่สูงกว่าไตขวาเล็กน้อย)
โครงสร้างที่ห่อหุ้มไต
Renal capsule
Perinephric (Perirenal) fat
Renal fascia
โครงสร้างของไต
Cortex
Medulla
Renal Cortex
มีสีน้ำตาลแดง ประกอบด้วย Renal corpouscles (Glomerulus) และ Bowman's Capsule)
Renal medulla
ยอดแหลมของ pyramid เรียก renal papilla เป็นท่อเปิดของ papillary duct ประกอบด้วยส่วน henle’s loop และ collecting duct
Parenchyma of kidney
เนื้อไตทางส่วน cortex และ medulla เรียกว่า parenchyma of kidney ประกอบด้วย uriniferous tubule
Uriniferous tubule ประกอบด้วย
Collecting tubules
ทำหน้าที่ในการสร้างน้ำปัสสาวะ และส่งผ่านเข้ากรวยไต ประกอบด้วย 2 ส่วน
Renal corpuscles
Vascular pole เป็นทางเข้าออกของหลอดเลือด Afferent และEfferent arteriole จาก glomerulus
1.1 Bowman’s capsule
ทำหน้าท่ีรองรับ glomerulus และของเสียท่ีกรองได้
1.Parietal layer จะต่อเนื่องไปกับproximaltublue
2.Visceral layer มีเซลล์พิเศษช่ือ podocyte
1.2 Glomerulus
กลุ่มของเส้นเลือดฝอย (capillaries)
1 Glomerular capillary
2 Podocytes
3 Mesangial cells
Renal tubules
Henle’s loop
Proximal tubule
Distal tubule
Nephrons
Cortical nephron มี renal corpuscle อยู่ที่ cortex,Henle’s loop ยื่นมาถึง medulla
หลอดไตส่วนต้น (Proximal convoluted tubule : PCT)
ดูดซึมน้ำกลับจากน้ำเลือดท่ีกรองที่ผ่าน
จากโกลเมอรูลัสและสารอื่น
สามารถดูดกลับ กรดอะมิโน น้ำตาล กลูโคส โดยกลูโคสท้ังหมดถูกดูดกลับท่ี proximal tubule
ห่วงหลอดไต(Loop of Henle : ท่อขาลง,ท่อขาขึ้น )
สามารถดูดซึมโซเดียมอิออนโพแทสเซี่ยมและคลอไรด์อิออนกลับโดยท่ัวไปของเหลวที่อยู่ในส่วนนี้จะเป็น ของเหลวที่มีความเข้มข้นมาที่สุดในหลอดไต
หลอดไตส่วนปลาย (Distal convoluted tubule : DCT)
สามารถดูดซึมน้ากลับได้ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ และมีการดูดซึมโซเดียมอิออนและคลอไรด์อิออนได้บ้าง รวมท้ังสามารถหลั่งหรือขับสารต่างๆ กลับเข้าสู่ท่อไตได้ เช่น แอมโมเนียมอิออน ไฮโดรเจนออิอนและโพแตสเซี่ยมออิอน
หลอดไตรวม (Collecting duct)
ทำให้น้ำปัสสาวะเข้มข้นภายใต้การควบคุม
ของ Antidiuretic hormone (ADH)
โครงสร้าง Juxtaglomerular apparatus (JGA)
เป็นโครงสร้างที่ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนรีนิน โดยมีความเกี่ยวข้องกับ
ควบคุมเลือดที่เข้ามาที่ไต (renal blood flow, RBF)
ควบคุมอัตราการกรอง (glomerular fitration rate,GFR)
เส้นเลือดที่มาไต (Blood supply)
เป็น renal artery ทั้งข้างซ้ายและขวาที่แตกแขนงมา จาก abdominal aorta
หลอดไต (Ureters)
เป็นท่อต่อจาก renal pelvis
ทอดตัวลงมาตามกล้ามเนื้อ psoasmajor
ทำหน้าท่ีนำปัสสาวะจากกรวยไตไปเก็บในกระเพาะปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder)
เป็นอวยัวะที่อยู่บริเวณช่องท้องน้อย (Pelvic cavity) หลังรอยต่อของกระดูกหัวหน่าว (Symphysis pubis)
ทำหน้าที่กักเก็บน้ำปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะ (Urethra)
ท่อปัสสาวะชาย (Male urethra)
มีความยาว18-20cm.
เป็นทางผ่านของน้ำปัสสาวะและน้ำอสุจิ
แบ่งออกเป็น3 ส่วน
Prostatic urethra
Membranous urethra
Penile urethra
ท่อปัสสาวะเพศหญิง
(Female urethra)
ยาว 4 ซม.ตั้งอยู่หลัง symphysis pubis และติดกับผนังด้านหน้าของช่องคลอด (vagina)