Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางย่อยอาหาร Digestive System - Coggle Diagram
ระบบทางย่อยอาหาร
Digestive System
การหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
1.ระยะที่อาหารยังไม่ตกถึงท้อง
การหลั่งในระยะนี้คิดเป็นร้อยละ40
2.ระยะที่อาหารอยู่ในกระเพาะอาหาร
การหลั่งในระยะนี้คิดเป็นร้อยละ50
3.ระยะที่อาหารอยู่ในลำไส้เล็กส่วนต้น
การหลั่งในระยะนี้คิดเป็นร้อยละ10
อวัยวะในระบบทางเดินอาหาร
ทางเดินอาหารเป็นท่อยาวประมาณ 5-7 เมตร
ในคนมีชีวิตประมาณ 7-9 เมตร
1)ปากและช่องปาก
ประกอบด้วยลิ้นและต่อมน้ำลาย
เป็นทางรับอาหาร ฟันช่วยบด ฉีก กัด
2)คอหอย
(pharynx)
บริเวณที่ทางเดินอาหารพาดผ่านทางเดินอากาศหายใจเข้าออกจากปอด
3.)หลอดอาหาร
(esophagus)
เป็นท่อที่กั้นแยกอาหารออกจากอวัยวะในช่องอกโดยมีกล้ามเนื้อหูรูดกั้นส่วนบนและส่วนล่าง
4.)กระเพราะอาหาร
(stomach)
มีกล้ามเนื้อบุถึง 3 ชั้น จึงแข็งแรงพอที่จะเก็บพักเตรียมอาหารมีการย่อยอาหารโปรตีน
5).ลำไส้เล็ก
(small intestine)แบ่งเป็น3ส่วน
เซลล์ของลำไส้เล็กมีไมโครวิลไลจำนวนมากเพื่อเพิ่มพื้นที่จำเป็นตำแหน่งสำคัญสำหรับการย่อย
6.)ลำไส้ใหญ่
(large intestine,colon)
มีหน้าที่ดูดซึมน้ำและเกลือแร่ที่วำคัญเป็นการเก็บพักกากอาหารรวมทั้งจุลินทรีย์
การเคลื่อนไหวของระบบทางเดินอาหาร
เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อวงแหวนและกล้ามเนื้อเรียงตัวตามยาวในผนังชั้นนอกของทางเดินอาหาร การหดตัวของกล้ามเนื้อเหล่านี้จะทำให้เกิดกระบวนการผสมและคลุกเคล้าสารอาหารกับน้ำย่อยได้สมบูรณ์
การเคลื่อนไหวทางเดินอาหาร
การเคี้ยว
การกลืน
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหาร
ลำไส้ใหญ่
ลำไส้เล็ก
ตัวกระตุ้นการทำงานของ
กล้ามเนื้อในหลอดอาหาร
ก้อนอาหารซึ่งไปกระตุ้นตัวรับเชิงกลที่คอหอย ปรับตัวรับยืดขยายที่ผนังหลอดอาหารส่งสัญญาณขึ้นไปยังศูนย์การกลืนและ ส่งคำสั่งมาบังคับหารหดตัวของกล้ามเนื้อให้มีการบีบเคลื่อนแย่างต่อเนื่อง
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหาร
การเคลื่อนไหวของ
กระเพาะอาหารมี 3 ลักษณะ
ขณะกลืนอาหาร
ขณะที่มีอาหารอยู่ในกระเพาะ
ขณะท้องว่าง
กระเพาะอาหารมีรูปร่าง
เป็นกระเปาะตามวิกายวิภาก
ฟันดัสส
คอร์ปัส (บอดี้)
แอนทรัม
ไพรอลัส
การเคลื่อนไหวลำไส้เล็ก
1.ส่วนต้น Duodenum
2.ส่วนกลาง Jeiunum
3.ส่วนปลาย Ileum
การเคลื่อนไหวขอลำไส้ใหญ่
1.Cecum
2.Vermifrom appendix
3.Rectum
กากอาหารที่เหลือจากการย่อย
จะถูกลำเลียงผ่านที่ลำไส้โดยลำใหญ่จะทำหน้าที่สะสมกากอาหารและสูดซึมสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
การขับถ่ายอุจจาระ
ต้องการทำงานร่วมกันของ กล้ามเนื้อเรียบในหูรูดชั้นนอกกล้ามเนื้อในอุ้งเชิงกรานและกระบังลม
การคัดหลั่งจากต่อมน้ำลาย
ต่อมพาโรติก
ต่อมน้ำลายใต้ขากรรไกร
ต่อมน้ำลายใต้ลิ้น
เส้นประสาทที่ควบคุมทางเดินอาหาร
ประสาทที่ไปเลี้ยงทางเดินอาหารจะควบคุมการหดตัวองกล้ามเนื้อ
การคัดหลั่งและการดูดซึมสารเข้าสู่เลือดที่ไหลเวียนภายในผนังหลอดอาหาร
แบ่งได้เป็น2ส่วน
เส้นประสาทที่ควบคุมส่วนใน
(Intrinsic nerve innervation)
หลอดอาหารส่วนล่าง
กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่
เส้นประสาทที่ควบคุมส่วนนอก
(Extrinsic nerve innervation)
ทำงานภายใต้จิตใจ
คือเส้นประสาทที่ควบคุมส่วนนอก
และเส้นประสาทที่ควบคุมส่วนใน
ทำงานนอกจิตใจถูกควบคุม
โดยระบบประสาทอัตโนมัติ
ระบบเอ็นเทอริก
(enteric nervous system.ENS)
ควบคุมการทำงานของทางเดินอาหารประกอบด้วยเซลล์รับความรู้สึก
เซลล์เชื่อมกลางและเซลล์มอเตอร์เรียงตัวเป็นร่างแห 2 ชุด
ชุดที่สองคือ (Myenteric
plexus)จะเรียงตัวอยู่ระหว่สงชั้นกล้ามเนื้อวงแหวนและกล้ามเนื้อเรียงตัวตามยาว
ชุดที่หนึ่งคือ(Meissner plexus)
เรียงตัวอยู่ใต้ชั้นเมือก
เซลล์รับความรู้สึกของENS.ฝันอยู่ที่เยื่อบุผิวทำหน้าที่เป็นตัวรับสารเคมีที่ปนอยู่กับอาหารไปยืดผนังทางเดินอาหารเกิดศักย์ทำงานส่งต่อไปยังเซลล์เชื่อมกลาง
ระบบซิมพาเทติก
(Sympathetic nervous system)
ระบบการพาซิมพาเทติก
(Parasympathetic nervous system)
นางสาวเมธาพร บุพศิริ
รหัสนักศึกษา 641201202