Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 แนวทาง วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ - Coggle…
บทที่ 3 แนวทาง วิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1.การประเมินจากการปฏิบัติ
มี 3 ข้อย่อย ดังนี้
1.3 วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินการปฏิบัติ
1.3.1 การสังเกต
1.3.1.1 แบบสังเกตที่มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ
1.3.1.2 แบบสังเกตที่มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า
1.3.1.3 แผนภูมิการมีส่วนร่สม
1.3.1.4 ระเบียนพฤติการณ์
1.3.2 การตรวจผลงานจากการปฏิบัติ
ได้แก่ การให้ทำแบบฝึกหัดในระหว่างการจัดการเรียนรู้ การให้ทำโครงงาน และการใช้แฟ้มสะสมผลงานหรือแฟ้มผลงานดีเด่น
1.3.2.1 จัดอันดับคุณภาพ
1.3.2.2 การตรวจผลงานโดยพิจารณาจากเกณฑ์คุณภาพผลงาน
1.3.2.3 การประเมินโดยใช้แฟ้ทสะสมผลงานหรือแฟ้มสะสมผลงานดีเด่น
1.1 การประเมินการเรียนรู้จากการปฏิบัติ
จึงเป็นวิธีการประเมินวิธีหนึ่ง
โดยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตลอดจนคุณลักษณะด้านจิตพิสัยที่แสดงออกในการทำงานของผู้เรียน
1.2 ลักษณะที่สำคัญของการประเมินการปฏิบัติ
มี 5 ข้อ ดังนี้
1.การประเมินการปฏิบัติ สามารถตรวจสอบความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาสาระ การนำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหา
2.การประเมินการปกิบัติเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้สอนค้นหาความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียนได้อย่างเต็มที่
3.การประเมินการปฏิบัติ สามารถประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ทั้งกระบวนการปฏิบัติงาน และผลลผิตหรือผลงานที่ได้จากการปฏิบัติ
4.การประเมินการปฏิบัติ สามารถประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติที่ผู้เรียนแสดงออกในขณะปฏิบัติงาน ซึ่งแสดงถึงนิสัยต่างๆที่เกี่ยวข้องในการทำงาน
5.การประเมินการปฏิบัติ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ทำ
2.การประเมินโดยการสื่อสารระหว่างบุคคล
การประเมินโดยการสื่อสารระหว่างบุคคลเป็นการติดต่อสื่อสาร รวบรวมข้อมูลและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียนทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่มเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ตามความสนใจและความถนัด การประเมินโดยการสื่อสารระหว่างบุคคล ทำได้โดยการสนทนาพบปะพูดคุยกับผู้เรียนโดยตรง เพื่อนหรือผุ้ปกครองในเวลาที่เหมาะสมเกี่ยวกับพฤติกรรมการเรียน
3.การให้ผู้เขียนรายงานตนเอง
การเขียนรายงานตนเองเป็นลักษณะการถามตอบปลายเปิด หรือเลือกคำตอบจากการจัดเตรียมให้แล้วโดยใช้แบบสอบถาม มาตรวัดหรือแบบวัดต่างๆดังนี้
3.1 การใช้แบบสอบถาม
3.1.1 แบบตรวจสอบรายกการ
3.1.2 แบบสอบถามเป็นแบบประมาณค่า
3.1.3 แบบสอบถามมีลักษณะเป็นคำถามปลายเปิด
3.2 การใช้มาตรวัดต่างๆ
มาตรวัดเป็นเครื่องมือที่ใช่วัดสิ่งที่เป็นนามธรรมด้วยการเปลี่ยนแปลงเป็นข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อการนำมาเปรียบเทียบ นำมาใช้วัดคุณลักษณะความรู้สึกของบุคคลหรือพฤติกรรมต่างๆที่ไม่สามารถวัดออกมาเป็นตัวเลขโดยตรงได้ ลักษณะเด่นของมาตรวัดประกอบด้วยสถานการณ์ หรือข้อคามซึ่งเป็นสิ่งเร้าที่ต้องการให้ผู้ตอบประเมิน ความรู้สึก ของตนเองและส่วนที่เป็นคำตอบซึ่งมีลักษณะเป็นการเปรียบเทียบในเชิงปริมาณมากน้อย
3.3 การใช้แบบวัดเชิงสถานการณ์
เป็นการใช้สถานการณ์ต่างๆให้ผู้เรียนพิจารณษว่าในสถานการณ์เหล่านั้นผู้เรียนมีความรู้สึก หรือมีความคิดเห็นอย่างไร หรือจะทำอย่างไร คำตอบจะไม่มีผิดหรือถูกแต่คำตอบจะเป็นข้อมูลบอกให้ทราบว่าคุณลักษณะในด้านนั้นๆที่เราต้องการวัด อยู่ในระดับใด การสร้างแบบวัดเชิงสถานการณ์มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนว่า ในแต่ละสถานการณ์ต้องการตรวจสอบคุณลักษณะด้านใดของนักเรียน
4.สังคมมิติ
เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างสมาชิกภายในกลุ่ม
โดยใช้คำถามหรือกำหนดสถานการณ์ให้สมาชิกในกลุ่มเลือกเป็นสมาชิกภายในกลุ่มนั้น
อาจโดยใช้วิธีการถามแบบใครเอ่ย เช่น ใครเอ่ยที่ท่านชอบทำงานมากที่สุด ซึ่งคำถามที่ใช้ควรเป็นในแง่บวก อีกลักษณะหนึ่งคือ วิธีการสร้างภาพทางสังคม โดยกำหนดสถานการณ์ แล้วให้ผุ้ตอบเลือกว่าจะร่วมทำกิจกรรมกับใครมากที่สุดตามลำดับ 1 2 3 หลังจากนั้นนำรายชื่อผู้ที่เลือกและผู้ที่ถูกเลือกเขียนลงในตารางสังคมมิติ แล้วเขียนแสดงความสัมพันธ์โดยใช้แผนผังสังคมมิติ
5.การประเมินจากการผลการทดสอบ
การทดสอบเป็นวิธีการวัดผลวิธีการหรึ่งที่ใช้ในการตรวจสอบการเรียนรู้ของผู้เรียน
โดยใช้แบบทดสอบเป็นเครื่องมือ
ในการกระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมา ใน ลักษณะของการพูด การเขียนหรือการแสดงอาการอื่นตามข้อกำหนด ผลการสอบที่ออกมาถือเป็นตัวแทนของความรู้ ความสามารถของผู้เรียน ซึ่งจะนำมาถูกตีค่าเป็นตัวเลขในเชิงปริมาณ ที่แสดงถึงความรู้ความามารถของผู้เรียนในเรื่องนั้นๆ
หมายถึง
หมายถึง จุดมุ่งหมายทางการศึกษาหรือพฤติกรรมทางการศึกษา เป็นเป้าหมายหรือสิ่งที่คาดหวังให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการจัดการศึกษา ใช้เป็นตัวกำหนดแนวทางในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนและกำหนดทิศทางประเมินผลการเรียนรู้ว่าบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่วางไง้เพียงใด
บทสรุป
การตรวจสอบการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านการปฏิบัติและคุณลักษณะด้านจิตพิสัย เน้นการประเมินตามสภาพจริงที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมากกว่าการทดสอบ ดังนั้นการทดสอบที่จะกล่าวถึงในที่นี้จึงเน้นการทดสอบเพื่อตรวจสอบความรู้ความคิดของผู้เรียนตามที่หลักสูตรกำหนด ซึ่งเครื่องมือการวัดผลที่ใช้ในการทดสอบเรียกว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์