Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support), image Head-tilt Chin-lift,…
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ
(Trauma life support)
การประเมินผู้ป้วยที่ได้รับ
บาดเจ็บเบื้องต้น
(Primary Survey)
Airway maintenance with cervical spine protection
ประเมิน Airway เพื่อหาอาการที่เกิดจากทางเดินหายใจอุดกั้น
เปิดทางเดินหายใจให้โล่งโดยใช้วิธีการ Head-tilt Chin-lift
กรณีผู้ป่วยที่สงสัยหรือได้รับอุบัติเหตุให้ทำการเปิดทางเดินหายใจด้วย
วิธี jaw-thrust maneuver,
modified jaw thrust,
Triple airway maneuver
Breathing and ventilation
การประเมิน การช่วยหายใจและการระบายอากาศเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนอากาศ เพื่อให้ได้ออกซิเจนและขับคาร์บอนไดออกไซด
เปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
คลำ การเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ
ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
Circulation with hemorrhagic control
ประเมินหัวใจและหลอดเลือด
ประเมินระบบหายใจ
ประเมินระบบทางเดินปัสสาวะ
ประเมินระบบทางเดินอาหาร
ประเมินผิวหนัง
ประเมินภาวะกรดด่างของร่างกาย
ประเมินอาการทางระบบประสาท
Disability
(Neurologic Status)
เป็นการประเมินระบบประสาทต่อว่าสมองหรือไขสันหลังได้รับบาดเจ็บหรือไม่เริ่มประเมินจากระดับความรู้สึกตัวซึ่งอาจประเมินได้ตั้งแต่แรกรับผู้ป่วยพร้อม Airway อาจใช้Glasgow Coma Scale
Exposure / environmental control
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหนัก ควรถอดเสื้อผ้าออกให้หมดเพื่อค้นหาการบาดเจ็บต่างๆ อื่นๆ
ในผู้ป่วยที่บาดเจ็บหนักอาจใช้กรรไกรในการตัดเสื้อและกางเกงออกเพื่อจะได้ตรวจร่างกายอย่างถูกต้อง ขณะตรวจในห้องควรจะอบอุ่น เพื่อป้องกันภาวะ Hypothermia
วิธีการตรวจ bulbocarvernosus reflex โดยผู้ตรวจใช้นิ้วมือสอดเข้าไปในทวารหนักผู้บาดเจ็บ (per rectum) จากนั้นบีบที่บริเวณหัวอวัยวะเพศชาย(glans penis) หรือกระตุ้น clitorisในเพศหญิง ถ้าพบว่าหูรูดทวารหนักมีการหดรัดตัวรอบนิ้วมือ แสดงว่าการตรวจให้ ผลบวก
การรักษาผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บภายหลังได้รับการช่วยเหลือขั้นต้นแล้ว (Definitive Care)
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทำ secondary survey เรียบร้อยแล้ว เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพโดยตรง เป็นการรักษาจำพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
ได้แก่ การผ่าตัด เพื่อแก้ไขภาวะฉุกเฉินต่างๆ
การกู้ชีพ
Airway
Breathing
Circulation
การให้สารน้ำและเลือด
ภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตวงวัดปริมาณปัสสาวะ
การใส่สายสวนกระเพาะ
การห้ามเลือดเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในผู้บาดเจ็บโดยทำร่วมกับการให้สารน้ำทดแทน
ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับออกซิเจนเสริมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจผู้บาดเจ็บควรได้รับออกซิเจนผ่านหน้ากาก ที่เหมาะสมกับหน้าพอดีด้วย flow rate 11 L/min
การทำ Definitive airway ในผู้บาดเจ็บที่มีปัญหาการหายใจ
สามารถรักษาได้โดยการใส่ท่อช่วยหายใจ
การประเมินสภาพร่างกายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บอย่างละเอียด (Secondary Survey)
Physical Examination
Head
Facial
Cervical spine and Neck
Chest
Abdomen
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessment
Pelvic fracture
Neurological system
Re-evaluation
History
Allergies
ประวัติการแพ้ยา สารเคมีหรือวัตถุต่างๆ
Medication
ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
Past illness/ Pregnancy
การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
Last meal
เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Event/ Environment related to injury
อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร
Head-tilt Chin-lift
Triple airway maneuver
modified jaw thrust
jaw-thrust maneuver