Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle…
บทที่ 5 แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
แนวคิด
Anglo-American Model (AAM)
ลำเลียงผ้ปู่วยส่งตรงห้องฉุกเฉิน
ค่าใช้จ่ายสูงกว่า FGM
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแลโดยมีแพทย์กำกับ
ใช้รถ Ambulance เป็นหลัก
นำผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด
“Scoop and run” เวลาสำหรับการประคับประคองอาการในสถานที่เกิดเหตุสั้น
สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย ไทย
Franco-German Model (FGM)
ลำเลียงผู้ป่วยส่งหน่วยเฉพาะทาง
ใช้ รถAmbulance, Helicopter
และ Coastal ambulance
แพทย์ให้การดูแลโดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วย
ค่าใช้จ่ายตํ่ากว่า AAM
นำบริการโรงพยาบาลมาหาผู้ป่วย
เยอรมนี ฝรั่งเศส กรีซ มอลต้า ออสเตรีย
“Stay and Stabilize” ให้เวลานานในการดูแลอาการในสถานที่เกิดเหตุ
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
เพื่อช่วยชีวิต
การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้ว
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การบรรเทาภัย
การบูรณะฟื้นฟู
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
การเตรียมความพร้อม
ระบบทางด่วน
(Fast track/Pathway system) สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
ระบบทางด่วนสำหรับผู้ป่วยอุบัติเหตุ (Trauma fast track)
ระบบทางด่วนสำหรับผู้ป่วย
เจ็บหน้าอก
(Chest pain fast track)
ระบบทางด่วนสำหรับผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางหลอดเลือดสมอง
(Stroke fast track)
บทบาทพยาบาล
กับระบบทางด่วน
(Fast track)
จัดการและดูแลขณะส่งต่อ
ให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
ประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
รายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
ประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
ให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
ดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
ติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
จัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง