Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน, นางสาวรุ่งนภา …
บทที่ 7
การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน
การสอน
หัวข้อที่ 7.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนรายงานการวิจัย
ความสำคัญของรายงานการวิจัย
1.3 เป็นการส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในการรวบรวมข้อมูลหรือประกอบการอ้างอิง อันเป็นวิธีการหาความรู้ด้วยตนเอง
1.4 สามารถนำไปใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ถ้ามีการเผยแพร่ผลการวิจัยแล้วสามารถนำความรู้จากการค้นพบไปใช้แก้ไขปัญหาได้
1.2 เป็นการพัฒนาความคิดด้านความคิดริเริ่มการวิเคราะห์และการประมวลความคิดอย่างมีระบบระเบียบ ตลอดจนการถ่ายทอดความคิดเป็นภาษาเขียนที่ชัดเจน
1.5 เพื่อเสนอผลจากการค้นคว้าและข้อค้นพบต่าง ๆ ให้ผู้สนใจทราบถึงรายละเอียดต่างๆ ทุกขั้นตอน
1.1 เป็นการเสนอข้อเท็จจริงหรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าและข้อค้นพบต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ อันเป็นแนวทางในการเสนอข้อมูลทางวิชาการแนวใหม่หรือปรับปรุงข้อมูลเพิ่มสละสลวย
ลักษณะของรายงานการวิจัย
2.1 จัดทำขึ้นหลังดำเนินโครงการเสร็จแล้วเพื่อนำเสนอสารสนเทศแก่ผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้องไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนางาน
2.2 นำเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับการวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ผลการวิจัยในการนำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ประโยชน์
2.3 ภาษาที่ปรากฏในรายงานการวิจัยเป็นประโยคอดีตกาล
2.4 สาระของรายงานในแต่ละหัวข้อหรือแต่ละบทมีลักษณะเฉพาะเป็นเอกภาพและสัมพันธ์สอดคล้องกัน
ส่วนประกอบของรายงานการวิจัย
ส่วนประกอบของรายงานการวิจัยแบ่งเป็น 3 ส่วนคือส่วนนำส่วนเนื้อหาและส่วนท้ายในแต่ละส่วนมีรายละเอียดดังนี้
3.2 การเขียนส่วนเนื้อหา ในส่วนนี้เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยโดยตรงประกอบด้วยบทที่ 1 ถึงบทที่ 5
3.2.1 บทที่ 1 บทนำประกอบด้วย 1) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 2) วัตถุประสงค์ของการวิจัย 3)สมมุติฐานการวิจัย 4)ขอบเขตของการวิจัย 5)ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 6)คำนิยามศัพท์เฉพาะ
3.2.2 บทที่ 2 เอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.2.3 บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
3.2.4 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลที่ได้จากการวิจัย
3.2.5 บทที่ 5 สรุปอภิปรายและข้อเสนอแนะ
3.3 การเขียนส่วนท้าย ในส่วนนี้ประกอบด้วย
2) ภาคผนวก
3) ประวัติผู้วิจัย
1) บรรณานุกรม
3.1 การเขียนส่วนนำประกอบด้วย 1) ปกนอก 2) ปกรอง 3) หน้าอนุมัติ 4)กิตติกรรมประกาศ 5)สารบัญ 6)สารบัญตาราง 7)สารบัญรูปภาพ 8)บทคัดย่อภาษาไทย 9)บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
รูปแบบการเขียนรายงานการวิจัย
4.1 รูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยก่อนที่จะเริ่มทำงานวิจัย
4.2 รูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยภายหลังงานวิจัยดำเนินการเสร็จสิ้นมี
ลักษณะของการเขียนรายงานการวิจัยที่ดี
5.2 การแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเหมาะ
5.3 ความสมบูรณ์และความถูกต้องของเนื้อหาสาระ
5.1 การนำหลักการและ / หรือทฤษฎีมาใช้อย่างเหมาะสม
5.4 ความชัดเจนของการเขียนรายงานรายงาน
5.5 ความเหมาะสมของรูปแบบการเขียนรายงาน
ข้อบกพร่องในการเขียนรายงานการวิจัย
6.1 ข้อบกพร่องทั่วไปของการเขียนรายงานการวิจัย
6.2 ข้อบกพร่องด้านมโนทัศน์ของการเขียนรายงานการวิจัย
หัวข้อที่ 7.2 หลักการ เทคนิค การวางแผน และขั้นตอนการเขียนรายงานวิจัย
หลักการเขียนรายงานการวิจัย ยึดหลักการเขียนรายงานเหมือนกันดังนี้
1.4 ความเป็นเอกภาพ
1.5 ความสัมพันธ์สอดคล้องเชื่อมโยง
1.3 ความเป็นระบบ
1.6 ความชัดเจน
1.2 ความครบถ้วนสมบูรณ์
1.7 ความสม่ำเสมอ
1.1 ความถูกต้อง
1.8 ความตรงประเด็น
1.9 ความต่อเนื่อง
เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย มีดังนี้
2.5 หลีกเลี่ยงการใช้สรรพนามบุรุษต่าง ๆ เช่น ฉัน เขา เป็นต้น
2.6 การเขียนข้อความต่าง ๆ ในการวิจัย ต้องถูกต้องตามหลักวิชาการ มีหลักฐานเอกสารอ้างอิง ไม่เขียนขึ้นมาลอย ๆ จากความรู้สึกของผู้วิจัย
2.4 หลีกเลี่ยงการใช้อักษรย่อที่ไม่เป็นที่ยอมรับยังไม่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย
2.7 ควรมีความคงที่ในการใช้สำนวนภาษาหรือคำศัพท์ต่าง ๆ โดยการใช้คำที่เหมือนกันตลอดงานวิจัยนั้น ๆ เช่นการตรวจสอบความ
2.3 หลีกเลี่ยงการใช้ภาษาต่างประเทศ ถ้ามีคำไทยใช้แทนแล้ว
2.8 การเขียนตัวเลข ถ้าใช้ทศนิยม 2 หลัก ก็ควรใช้เช่นนี้ตลอดงานวิจัย
2.2 ใช้ภาษาเขียน ไม่ใช้ภาษาพูด
2.9 การอ้างอิงผลงานวิจัยต้องใช้ประโยคที่เป็นอดีตเพราะสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นเกิดขึ้นแล้ว
2.1 ใช้ภาษาที่ชัดเจน ไม่กำกวม เข้าใจง่าย
2.10 การเขียนรายงาน ควรมีการเรียงลำดับความอย่างเป็นระบบที่ต่อเนื่องอย่างราบรื่นเทคนิคดังกล่าวข้างต้นจะทำให้งานวิจัยชิ้นนั้น ๆ มีคุณค่า สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าและนำไปใช้อ้างอิงในทางวิชาการได้
การวางแผนการเขียนรายงานการวิจัย
3.2 การกำหนดแนวคิดแนวคิดหรือมโนคติ (Concept) เป็นข้อความที่แสดงแก่นหรือเป้าหมายเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพื่อให้ได้ข้อสรุปรวมและข้อแตกต่างเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
3.3 การกำหนดวัตถุประสงค์ ผู้เขียนรายงานจะต้องตั้งวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ว่าจะเขียนรายงานนี้เพื่อต้องการเสนอสิ่งใด
3.1 การวางโครงเรื่อง โครงเรื่องเป็นสิ่งกำหนดขอบข่ายเนื้อหาของรายงาน ทั้งยังช่วยให้เนื้อหาต่อเนื่องตามลำดับครอบคลุมสิ่งที่ต้องการศึกษาค้นคว้า
ขั้นตอนการเขียนรายงานการวิจัย
4.3 การเขียนร่างรายงานการวิจัย
4.4 การบรรณาธิกรณ์และปรับปรุงรายงานการ
4.2 การเตรียมเนื้อหาสาระ
4.1 การวางโครง
หัวข้อที่ 7.3 แนวทางการเขียนรายงานการวิจัยส่วนนำ
บทคัดย่อ
2.2 ระบุสาระโดยย่อ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัยโดยย่อ และสรุปผลการวิจัย
2.3 ความยาวเนื้อหาไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ
2.1 ให้ระบุชื่อเรื่อง ชื่อผู้วิจัย ปีที่ทำการวิจัย
2.4 อาจจัดทำบทคัดย่อเป็นภาษาอังกฤษเพื่อใช้ในการเผยแพร่ในระดับสากล
กิตติกรรมประกาศ
ส่วนที่ว่าด้วยการประกาศขอบคุณ เช่น ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญบุคคลหรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือในการทำวิจัย ผู้ให้คำแนะนำ ผู้ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ให้ข้อมูล ผู้ตรวจทานต้นฉบับ ผู้พิมพ์และผู้ให้กำลังใจ หรือบุคคลในครอบครัว เป็นต้น จนมีผลทำให้งานวิจัยสำเร็จลุล่วงด้วยดี
สารบัญ
สารบัญเนื้อหาเป็นการบอกโครงสร้างของเอกสารทั้งหมด ระบุรายการสำคัญ ๆ โดยระบุเลขหน้าให้ชัดเจนตรงกับเนื้อหาภายในเล่ม เพื่อสะดวกต่อการการสืบค้นขณะอ่าน
ปก
ปกหน้าหรือปกนอก ให้ระบุชื่อเรื่องที่วิจัยชื่อ ผู้วิจัย ปีที่ทำวิจัย อาจระบุชื่อหน่วยงานที่เป็นเจ้าของผลงาน
ปกใน โดยทั่วไปจะปรากฏสาระเหมือนปกหน้าหรือปกนอกทุกประการ เพียงแต่ใช้กระดาษเหมือนเนื้อในปกติ
สารบัญตาราง สารบัญภาพ
ในรายงานการวิจัยบางเรื่องอาจมีข้อมูลหรือภาพที่ต้องการนำเสนอค่อนข้างมาก ดังนั้นเพื่อความสะดวกในการสืบค้น จึงควรจัดทำสารบัญตารางหรือสารบัญภาพไว้ด้วย
หัวข้อที่ 7.4 แนวทางการเขียนรายงานการวิจัยส่วนเนื้อหา
บทที่ 1 บทนำประกอบด้วย
1) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
4)ขอบเขตของการวิจัย
3)สมมุติฐานการวิจัย (ถ้ามี)
2) วัตถุประสงค์ของการวิจัย
5)ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย
1) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2) เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
3) วิธีการรวบรวมข้อมูล
4) สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
บทที่ 4 ผลการวิจัย
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
หัวข้อที่ 7.5 แนวทาวการเขียนรายงานการวิจัยส่วนท้าย
การเขียนภาคผนวก เป็นรายการเอกสารหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัย
การเขียนประวัติผู้วิจัย ถือเป็นเนื้อหาหน้าสุดท้ายของรายงานการวิจัย ซึ่งจะบอกรายละเอียดของผู้วิจัยเกี่ยวกับ วัน เดือน ปี สถานที่เกิด การศึกษาในระดับต่าง ๆ และประวัติการทำงาน ตำแหน่งในอดีตและปัจจุบันโดยย่อ
บรรณานุกรม เป็นการรวบรวมรายการเอกสาร / หนังสือต่าง ๆ ที่ใช้อ้างอิงในการรายงานการวิจัย
นางสาวรุ่งนภา ถังทอง 611120420 โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป