Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาการของรก เยื้อหุ้มรก สายสะดือ และน้ำคร่ำ - Coggle Diagram
การพัฒนาการของรก เยื้อหุ้มรก สายสะดือ และน้ำคร่ำ
การเกิดรกและเยื่อหุ้มรก
ชั้นยุชั้นในของมดลูกเปลี่ยนแปลงเพื่อรับการฝังตัวของ Embryo
ได้ progesterone h. มีเลือดมาเลี้ยงมาก จะหนาและนุ่ม
เรียกว่า Decidua มี 3 ชั้น
Decidua compacta
Decidua spongiosa
Decidua basalis
ในวันที่ 7 หลังไข่ตกจะเห็น trophoblast
พัฒนาการของรกและเยื่อหุ้มทารก
พัฒนาการของรก
ประมาญวันที่ 9 หลังปฎิสนธิ Syncytiotrophoblast จะเจริญขึ้นเห็นเป็นvilli เป็นกระจุกหนาแน่น
มีเลือดมาหล่อเลี้ยง เรียก chorionic
villi - chorionic frondosum - cotyledon
พัฒนาการของเยื่อหุ้มรก
เยื่อหุ้มชั้นนอก (chorion)
กลม แบน กว้างประมาณ 15-20 ซม.
น้ำหนักเฉลี่ยประมาณ 500 gms.
มี 2 ด้าน คือ
รกด้านมารดา
รกด้านทารก
หน้าที่
ทำหน้าที่แทนปอด ในการแลกเปลี่ยนออกซิเจรและคาร์บอนไดออกไซด์
ทำหน้าที่แทนไต ในการขับถ่ายของเสีย
ให้อาการแก่ทารกในครรภ์ ที่สร้างจากรกและเลือดแม่
ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนต่างๆ
ให้ภูมิต้านทานแก่ทารก
พัฒนาการของเยื่อหุ้มชั้นในและสายสะดือ
ประมาณสัปดาห์ที่ 3 ectoderm ส่วนหนึ่งจะเจริญขึ้น และแยกจาก embryonic plate ไปเป็นผนังด้านในของโพรงน้ำคร่ำ
มี yolk sac และ allantosis
สายสะดือประกอบด้วย mucoid substance เรียกว่า Wharton's jelly
ภายในสายสะดือ
มีเส้นเลือดดำ 1 เส้น นำเลือดดีจากรกไปยังเด็ก
มีเส้นเลือดแดง 2 เส้น นำเลือดเสียจากเด็กไปยังรก
ปกติยาว 35-100 ซม. เฉลี่ย 50 ซม.
น้ำหล่อเด็ก (amniotic fluid)
ลักษณะน้ำคร่ำ
Clear
Moderate meconeum strain
Thick meconeum strain
Mild meconeum strain
สร้างมาจาก Amniotic Epithelium cell ของ amniotic cavity
หน้าที่ของน้าคร่ำ
ช่วยลดแรงกระทบกระเทือนต่อทารก ปรับแรงดันให้เหมาะสมเมื่อมีแรงจากภายนอก
ทำให้ทารกเคลื่อนไหวได้อิสระ
ปรับสิ่งแวดล้อมและอุณหภูมิให้เหมาะสม
แรงดันในถุงน้าช่วยขยายปากมดลูกในระยะเจ็บครรภ์
ประโยชน์
ช่วยการเคลื่อนไหวของทารก
ป้องกันการกระทบจากภายนอก
เป็นแหล่งให้อาหารแก่ทารก
ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
ช่วยให้มีการเปิดขยายของปากมดลูกเมื่อเข้าสู่ระยะคลอด
ฮอร์โมนจากรก
Protein hormone
Steroid hormone
Progesterone
Estrogen