Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ส่วนที่ 2 การบริหารความขัดเเย้งและสันติวิธี - Coggle Diagram
ส่วนที่ 2
การบริหารความขัดเเย้งและสันติวิธี
1.การบริหารความคัดแย้ง
1.4 กระบวนการความขัดแย้ง
ระยะที่ 5 ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความขัดเเย้ง
ระยะที่ 4 พฤติกรรมที่แสดงออกมา
ระยะที่ 3 ตั้งใจที่จะทำอย่างใดอย่างหนึ่งกับความขัดเเย้่ง
ระยะที่ 2 รับรู้ถึงความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
ระยะที่ 1 ความไม่ลงรอยกันที่รุนแรง
1.5 ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
ความขัดเเย้งภายในกลุ่ม
ความขัดแย้งในตนเอง
ความขัดเเย้งระหว่างกลุ่ม
1.3 สาเหตุที่ทำให้มนุษย์ขัดแย้งกัน
ความล้มเหลวของการสื่อความหมายอย่างเปิดเผยเเละซื่อตรง
ความกดดันต่างๆ และการเเข่งขันกันเพื่อหวังสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ความไม่เข้าใจกันเเละกัน ทั้งในความคิดเเละพฤติกรรม
ความเห็นแก่ตัวไม่คิดถึงส่วนรวม
ความสัมพันธ์ที่เพิกเฉยซึ่งกันเเละกันไม่เกื้อกูล เกื้อหนุนกัน
1.6 ผลบวกของความขัดแบ้ง
สามารถจัดการและค้นหาวิธีในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่กิดขึ้นได้
เกิดความคิดที่สร้างสสรค์ หรือแปลกใหม่ขึ้น
เกิดความสามัคคี
สร้างความร่วมมือกันในแต่ละฝ่าย
1.2 ธรรมชาติของความขัดแย้ง
พื้นฐานของความเป็นมนุษย์นั้นมีความเห็นแก่ตัว เเละคิดถึงในส่วนที่เป็นประโยชน์แก่ตนเอง มักจะคิดถึงตนเองก่อนเสมอ ซึ่งถือว่าเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดความความขัดแย้งซึ่งกันเเละกันนั้นเอง
1.7 ผลลบของความขัดแย้ง
ทะเลาะเบาะเเว้งกัน
เกิดความขุ่นเคือง
เป็นปรปักษ์กันอย่างรุนเเรง
เกิดความอาฆาตและรอโอกาสที่จะแก้เเค้นกัน
เกิดความรุนแรงขึ้น
1.1 ความหมายของความขัดแย้ง
เป็นสถานการณ์ที่เป็นความแตกต่างด้านความคิดหรือการกระทำ ของ 2 ฝ่าย
หรือมากกว่านั้น แสดงความคิด พฤติกรรมที่เเตกต่างกันออกมาอย่างชัดเจน
ซึ่งอาจส่งผลกระทบในหลายด้าน เป็นการที่มีความไม่ลงรอยกัน หรือมีความต้องการที่ไม่เหมือนกัน
1.8 หลักการสำคัญเกี่ยวกับ การบริหารความขัดแย้ง
การแข่งขัน
การประนีประนอม
การหลีกเลี่ยง
การให้ความร่วมมือ
การปรองดอง
2.สันติวิธี
2.1 ความหมายของสันติวิธี
เป็นการตอบโต้สถานการณ์ที่เกิดความขัดแย้ง
โดยการไม่ใช้กำลังทางกายภาพ หรือความคิด
และไม่ทำให้เกิดความขัดแย้ง หรือความขุ่นเคืองขึ้นมากกว่าเดิม เพื่อแก้ไขปัญหา
2.2 รูปแบบของสันติวิธี
การใช้อนุญาโตตุลาการ
การเจรจาต่อรอง เพื่อหาผลตรงกลาง
กระบวนการนิติบัญญัติ
การเจรจาไกล่เกลี่ยข้ามวัฒนธรรมที่ต่างกัน
การเจรจาไกล่เกลี่ยโดยคนที่มีความเห็นเป็นกลาง
การไต่สวน
ไม่ให้ความร่วมมือกับสิ่งที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
การวสานเสวนา
การอารยะขัดขืน